www.AvisThailand.com
Tel. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
Home Get a Quote Know Us Better Contact Us Partner& link
Latest Offers Book Your Car Car & Renting Guide Avis Services Car Leasing Chauffeur Drive Travel Agent Avis used Car
Bangkok Cha am Hua hin Chiang mai Chiang rai Hat yai Khon kaen Krabi Nakhon Si Thammarat
Pattaya Phitsanulok Phuket Samui Suratthani Trang Udon Thani Ubon Ratchathani    

NAKHONRATCHASIMA

NAKHONRATCHASIMA : General Information

        Nakhon Ratchasima, generally known as " Khorat ", is Thailand’s largest province situated on sprawling northeast plateau. Located approximately 260 kilometers northeast of Bangkok, the city itself serves as the gateway to the lower northeastern region.


    Covering an area of 25,494 square kilometers that is mainly plateaus and mountainous terrain, Khorat has fascinating traditions, charming hospitality, splendid natural scenery and awesome historical sites.

Some of the main attractions in Khorat are Khmer ruins. Scattered around the province, these products of ancient wisdom shines through time. One of the Thailand’s finest Khmer ruins can be seen here next to Mon and Lao sites. In addition, Khorat has an abundance of natural attractions in its forests, hills, wildlife and waterfalls that are easily accessible in locations such as Khao Yai National Park .

Apart from the famous statue of Khun Ying Mo or Thao Suranari , Khorat is most well known for silk weaving (in Pak Thong Chai) and a variety of top-notch quality handicrafts such as clay pottery products of Dan Kwian .

Geographically, Nakhon Ratchasima borders on Chiyaphum and Khon Kaen Provinces in the north, Buri Ram Province in the east, Chiyaphum and Saraburi Provinces in the west and Nakhon Nayok and Prachin Buri Provinces in the south.

Khorat is also the largest northeastern province. Inhabitants of the province are mainly engaged in agricultural activities that include farming of rice and other crops such as sugar cane, tapioca, corn, jute, peanuts, sesame and fruits. There are more than 100 savings and agricultural cooperatives in the province, 35 irrigation projects and 7,122 industrial factories. Most of the factories are rice mills, tapioca product manufacturers, and industrial factories.

Khorat’s most popular annual event is the Thao Suranari Festival, a celebration of Thao Suranari’s victory over the invader. It’s held from late March to early April and features parades.

Looking back

Khorat used to be the site of several ancient prehistoric communities. Little is known about the early history of Khorat, except that it used to be part of a kingdom called Sri Janasa an empire that extended its power to the entire Khorat Plateau.

Initially the predominant cultural influence in the city was that of the Dvaravati culture, however, it was later replaced by the Khmer culture. The prehistoric site of Ban Prasat is an evidence of this occurrence while traces of both the Dvaravati and Khmer cultures are scattered throughout the province, particularly at Amphoe Sung Noen and Amphoe Phimai .
Once an administrative and cultural center, Khorat ’s role today remains unchanged as it is currently the main transportation, industrial and economic hub of the Northeast.

NAKHONRATCHASIMA : How to get there

By Car

Route 1: Take Highway No. 1 (Phahon Yothin) from Bangkok to Saraburi and then take Highway No. 2 (Mitraparp Highway) from Saraburi to Nakhon Ratchasima. The total distance is 259 kilometers.

Route 2: Take Highway No. 304 from Bangkok and proceed past Min Buri, Chachoengsao, Phanom Sarakham, Kabin Buri, Pak Thong Chai, to Nakhon Ratchasima. The total distance is 273 kilometers.

Route 3: Take the Bangkok-Rangsit-Nakhon Nayok route then take Highway No. 33 to Kabin Buri and Highway No. 304 past Wang Nam Khiao, Pak Thong Chai to Nakhon Ratchasima.

By Bus

Ordinary buses leave the Northern Bus Terminal (Mochit 2 Bus Terminal) in Bangkok every 15 or 20 minutes from 5 a.m. to 10.15 p.m. Air-conditioned buses leaving for Bangkok arrive and depart from the Korat's air-conditioned bus terminal on Mitraparp Highway.

The Transport Co., Ltd. (known as Bo Kho So) has both air-conditioned and non air-conditioned buses departing from the Bangkoks Northern Bus Terminal (Mo Chit 2 Bus Terminal) daily. Air-conditioned buses depart from Bangkok every 10 minutes all day, traveling time is 3.20 hours and the fare is 157 baht. Non air-conditioned buses depart from Bangkok every hour from 5 a.m. to 8 p.m., traveling time is 4.30 hours and the fare is 87 baht. For information, call 0 2936 2852-66 or get more updated information at www.traco.motc.go.th.

Private companies that offer bus services are Ratchasima Tour Co., tel. 0 4424 5443, Bangkok tel. 0 2936 1615 and Air Khorat Co., tel. 0 4425 2999, Bangkok tel. 0 2936 2252.

Buses running to other provinces leave from Bus Terminal 2 in Khorat. There are services to the northeastern provinces of Chaiyaphum, Khon Kaen, Udon Thani, Nong Khai, Nakhon Phanom, Sakon Nakhon, Kalasin, Ubon Ratchathani, Buri Ram (the old route goes past Nang Rong and the new one past Huai Thalaeng), and Surin (past Nang Rong-Ban Tako). In addition, there are buses to Bangkok, Chon Buri, Pattaya, Rayong, Chanthaburi, Lop Buri, Sing Buri, Nakhon Sawan, Chiang Mai, and Chiang Rai (up to Mae Sai). All depart from the Bus Terminal 2 in Khorat.

Getting around Korat

Traveling within the province is easy, with many mini-bus and bus routes operating in the city and nearby areas. The fare on each route is 3 baht. Comfortable air-conditioned bus services are also provided for route No. 2 at the rate of 5 baht.

A more convenient way to get around is to take the Tuk-Tuk or Samlor in the city. Samlors around the city costs 20 baht; while tuk-tuks cost 40 baht to most places around town (30 baht for a short hop) and 50 to 60 baht for longer trips. The rate for motorbike taxis is within the same range. Please note that the price must be agreed upon before a trip.

If traveling to another district, it is possible to take either a bus or mini-bus at Bus Terminal 1 on Burin Road. At Bus Terminal 2, only provides bus services to Amphoe Phimai and Dan Kwian-Chok Chai.

For information, call Bus Terminal 1 on Burin Road, tel. 0 4424 2899 and 0 4426 8899 and Bus Terminal 2 on the Mitraparp-Khon Kaen Road, tel. 0 4425 6006-9 ext. 175, 176 (air-conditioned), 178 (regular).


By Rail

An express train bound for Ubon Ratchathani departs Bangkok's Hualamphong Station at 9 p.m. and arrives in Khorat at 2.03 a.m.
Rapid trains on the Ubon railway depart at 6.50 a.m., 6.45 p.m. and 10.45 p.m., arriving in Khorat at 11.48 a.m. and 11.51 p.m. and 4.07 a.m. respectively. especially the morning arrival, which leaves plenty of daylight time to explore the city.

There are also two ordinary trains (3rd class only) that depart Bangkok at 3.25 and 11.25 p.m., arriving in Khorat about 5 1/2 to 6 hours after departure.
The 1st class fare (express train only) is 230 baht, while the 2nd class and 3rd class fares are 115 baht and 50 baht respectively. An additional fee of 40 baht is charged for rapid trains, 60 baht for the express and 80 baht for the special express train. The train passes through some great scenery on the Khorat Plateau, including a view of the enormous white Buddha figure at Wat Theppitak on a thickly forested hillside. Visit www.railway.co.th or call 1690 for more up-to-date schedules and fares.

 

NAKHONRATCHASIMA :Activities

Khao Yai National Park

The park, which covers an area of 2,168 square kilometers in the Phanom Dong Rak mountain range, stretches over 4 provinces including Nakhon Ratchasima, Nakhon Nayok, Saraburi, and Prachin Buri. Khao Yai became Thailands first national park on 18th September 1962 and is also originally recognized as the National Park Heritage of Asian Group Countries.

The park is comprised of mixed forests and rainforests with some wide plains and grasslands interspersed with verdant forests. There are many valuable plants, including commercial plants, scented plants and herbs. In addition, there are several mountains with peaks ranging from 800 to 3,000 meters above sea level making Khao Yai a cool climate area, even in summer.

The most popular time to visit Khao Yai is during the cool season or from October to February. In the rainy season, the area is refreshingly green with overflowing waterfalls, sending echoes all around.

Popular activities in the park include butterfly and bird watching, animal watching and trekking. The Park has numerous butterflies and birds as surveys indicate that over 293 species of birds use Khao Yai as a feeding ground while Khao Yai is the habitat of over 200 species. In addition, the park is home to an abundance of wildlife. The most frequently spotted animal is the deer that grazes on grass plains and sometimes come to be fed around the park office. Other animals spotted include elephants, sun bears, wild boars, monkeys, tigers, gaurs, and mountain goats. To facilitate animal watching the park built 2 wildlife watchtowers at Mo Singto and Nong Phak Chi. Visitors are allowed up there between 8 a.m. and 6 p.m. In addition, those who want to go on a night safari by car must contact the park office before 6 p.m. Moreover, Khao Yai has over 20 trekking trails for visitors to choose from, each different in natural beauty and distance. While some trails like the Kong Kaeo trail and the Kilometer 33 trail (Thanarat Road-Nong Phak Chi) take 1-2 hours to complete, other trails like the Nang Rong-Khao Yai trail, Samo Pun trail or Kho Yo 4 Unit-Wang Heo waterfall trail require overnight stays. Information and guides can be obtained from the tourist service centre.

Places of Interest in the Park:

Kong Kaeol Waterfall (Namtok Kong Kaeol)

This is a low waterfall, which is especially lovely in the rainy season originated from Huay Lam Takhong that divides Nakhon Nayok and Nakhon Ratchasima Provinces. The waterfall can be reached by a walking distance of 100 meters from the tourist service center. Visitors can enjoy swimming at the waterfall or taking short nature trips on nearby nature trails.

Pha Kluai Mai Waterfall (Namtok Pha Kluai Mai)

This is a medium-sized waterfall in Huay Lam Takhong with two separate bodies of water flowing down rock levels to merge at the bottom. In the area visitors can find the Red Dendrobium orchid that is the symbol of the waterfall. The waterfall is about 7 kilometers from the park office and can be reached by car and on foot. In addition, there is a trail from the waterfall that leads to Heo Suwat Waterfall.

Heo Suwat Waterfall (Namtok Heo Suwat)

This is a famous waterfall that cascades from a 20-meters high cliff. The waterfall, which is located at the end of Thanarat Road and being accessible by car, is only 100 meters by foot from the parking lot or a 3-kilometer walk from Pha Kluai Mai Waterfall. Visitors can view the falls from a distant viewpoint that offers a high-angle view of the waterfall through the trees or from the waterfall itself. However, please note that in the rainy season the water flows rapidly and caution should be taken.

Heo Narok Waterfall (Namtok Heo Narok)

This is the largest and highest waterfall in the park with 3 levels. The first level is about 60 meters high and water from this level flows straight down to the second and third levels, with a total drop of at least 150 meters. The water has considerable strength in the rainy season and is quite dangerous, but refreshing, when it comes splashing down on rocks at the bottom. The area around the waterfall is the usual feeding grounds of wild elephants. There have been occasional accidents when elephants drop from the cliff and die. For a beautiful view of the waterfall, visitors can walk 1 kilometer from the main road to a viewpoint. The waterfall itself is located to the south of the Park Office on the way to Prachin Buri.

There are also other lesser waterfalls in the park like Namtok Mai Plon, Namtok Heo Sai and Namtok Heo Prathul. For more information, contact the Parks tourist service centre.

Traveling to the Park

Khao Yai National Park is only about 205 kilometers from Bangkok. There are 2 ways of getting there; from the 56 kilometer marker of Mitraparp Highway, turn onto Thanarat Road and proceed for approximately 23 kilometers or at Hin Kong intersection, turn onto Highway No. 33 (Nakhon Nayok-Prachin Buri) and proceed to the Noen Hom intersection and take Highway No. 3077 to the park. The second route is rather steep and is more suitable for the return trip.

If traveling by bus, get off at Amphoe Pak Chong and continue on a mini-bus up to the gate of Khao Yai National Park. The fare is 15 baht and services are provided between 6 a.m. and 5 p.m. From there, visitors should flag a passing car to the park office or rent a car directly from Pak Chong.

Notice: Due to over capacity and protect the environment of Khao Yai National Park, Royal Forest Department has announced to limit the number of visitors since July 1,2008 , therefore visitors should inquire Khao Yai National Park directly before travelling at tel. 08 1877 3127 , 08 6092 6531 which operate 24 hrs. or visit website www.dnp.go.th

Admission fee : Adult 400 baht and Child 200 baht (If only visiting the area from Nern Hom checkpoint to San Chao Pho Check point, the admission fee is adult 200 baht and child 100 baht) and the fee of one car is 50 baht.

Facilities

There is a campsite at Pha Kluai Mai that can accommodate up to 1,000 visitors. The fee is 10 baht for children and 20 baht for adults per night. There is a restaurant and tents and sleeping bags for rent. Moreover, there are 2 more service areas at Kong Kaeo and Yaowachon that can accommodate up to 250 tourists. The fee is 30 baht each, though sleeping gear is not provided. Visitors can obtain permission from the park before 6 p.m. For more information, call the National Parks Division, Royal Forest Department, Tel. (66) 2579-7223 and (66) 2579-5734, or contact the Park Office at P.O. Box 9, Amphoe Pak Chong, Nakhon Ratchasima 30130.

Phimai Historical Park

Within the Park is the Phimai Sanctuary, one of the grandest and most important Khmer historical sites in Thailand.

The word Phimai appears in an inscription on a stone slab at the front doorway of the building as well as in many other structures. It is believed that the word Phimai referred to a religious figure or site.

The Phimai Sanctuary is rectangular in shape and is 565 meters wide and 1,030 meters long. It consists of ornately carved sandstone and laterite structures. The most special characteristic of the sanctuary is that it is the only one that faces south while the others usually face east. This is probably because it was built to face the route that the Khmers traveled from the capital of the empire, to the south of Phimai.

From stone inscriptions and the architectural style, the Phimai Sanctuary was most likely built at the end of the 11th century during the reign of King Suriyaworaman I. The architectural style is that of the Baphuon style that prospered at the time. However, some characteristics are similar to that of Angkor Wat, which became popular at a later period. Some additions were made to the site in the early 18th Buddhist century during the reign of King Chaiworaman VII when Phimai had close relations with the Khmer Empire. The sanctuary was always a religious site of the Mahayana sect of Buddhism because King Suriyaworaman I and King Chaiworaman VII were followers of the sect.
Important Structures in Phimai Sanctuary:

The Naga Bridge is the first part you pass when visiting the site. The bridge and lion figures stand in front of the Gopura (porch) south of the main pagoda. The intention may have been to build a link between earth and heaven according to both Hindu and Buddhist beliefs concerning the universe.

The Gopura was adapted as the wall around the sanctuary and the four entering porches. There is a large corridor connecting the outer and inner areas of the main sanctuary. Above each porch is a lintel of various designs.
The Main Prang or pagoda is on an open area in a curved walkway. It is the centre of the site and is made entirely of white sandstone and is different from the porches and walls that are made primarily of red sandstone. This is because white sandstone is more durable than red sandstone. The pagoda is 28 meters high, has a square base, a portico and stairways and doors in all 4 directions.

The pagoda consists of a base, outer walls, columns, and porches with beautiful designs. Of vital importance are the lintels that mostly recount the tale of Ramayana from Hinduism and tales of the Mahayana sect of Buddhism. The lintels above the 4 doorways of the main pagodas inner chamber, the most important room of the pagoda, are all about Buddhism reflecting the Buddhist influence that eventually surpassed that of Hinduism. The carvings are of the Baphoun style and the Angkor Wat style leading to the belief that the main pagoda was built at the end of the 12th century.

There are other pagodas, which are Prang Brahmadat in front of the main pagoda, Prang Hin Daeng and Ho Phram (Brahma Hall) to the right.

The park is open daily from 7.30 a.m. to 6 p.m. The admission is 40 baht. There are youth guides available to provide visitors with information about the site for free.

Historical Sites Outside Phimai Sanctuary:

The Phimai City Gate and City Walls were built during the reign of King Chaiworaman VII. Of the 4 gates, the south gate is the most important because the road from the ancient Khmer capital to Phimai runs through it. The sanctuary can be seen when looking straight through the gate.

The Men Brahmadat is southeast of the walls and is made entirely of bricks. Its present form is a huge and round earth hill that is about 30 meters high. The site is believed to have been the place where a king was cremated. However, the style of construction suggests it was built in the late Ayutthaya period.

Other sites to the south are Tha Nang Sa Phom, Kuti Rusi and Arokhayasan.

Phimai National Museum

The museum houses collections of archaeological artifacts especially those found in the lower part of the region and has exhibits on the past cultural prosperity of the Northeast. There are several sections as follows:

Local Northeastern culture

Daily utensils like mortars, cotton chests, carts and monk items lintels from sanctuaries in Nakhon Ratchasima and the Northeast prehistoric artifacts such as ancient pottery, skeletons, tools, and bronze and stone ornaments.

The history of Phimai

Early history that includes Dvaravati-style temple boundary markers and Khmer-style items like columns and parts of buildings, as well as sculptures like Buddha images, god figures and a figure of King Chaiworaman VII made of sandstone found at Phrommathat Pagoda in Phimai sanctuary.

The second floor is devoted to the past cultural glory of the Northeast, early Northeastern communities and Khmer cultural influence.

The Museum is located at the base of Tha Songkran Bridge just before Phimai Sanctuary. From Nakhon Ratchasima, take Highway No. 2 for 50 kilometers, then turn on Highway No. 206 and proceed for 10 kilometers. If taking a bus from Nakhon Ratchasima, visitors can take a bus from Bus Terminal 2 in the city. The museum is open from Wednesday - Sunday during 9 a.m.-4 p.m. The entry fee is 30 baht. For information, call 0 4447 1167.

Sai Ngam

Sai Ngam is on the bank of the Mun River near Phimai Dam. Cross Tha Songkran Bridge into the town and take a branch road to the dam for 2 kilometres. The place is so named because of the abundance of banyan trees here, all originating from a single tree, which is about 350 years now. The tree gave birth to many smaller ones covering the entire area. Nearby are souvenir shops and several restaurants. The most popular dish for tourists is Phimai noodles.

Thung Samrit Memorial

This wide field was a battleground between Khorat people and Lao soldiers during the reign of King Rama III. A shrine was constructed by villagers in 1988 to pay homage to the fighters. The memorial is located at Moo 1, Ban Samrit Tawan Ok, Tambon Samrit, 46 kilometers from the city. Take Highway No. 2 (Nakhon Ratchasima-Khon Kaen) to the 43-44 kilometer markers (opposite the entrance to Ban Prasat), turn right and proceed for about 3 kilometers.


Wat Thammachak Semaram

Wat Thammachak Semaram is in Ban Khlong Khwang in Tambon Sema. The place used to be a religious site in the Dvaravati period. The important artefact here is a huge reclining Buddha image made of red sandstone that stretches from north to south. It is 13.30 metres long and 2.80 metres high. It dates from 657 AD. The head is south and faces east. The face is somewhat square and made of 4 sandstone slabs on top of one another. The body is composed of sandstone blocks stacked vertically. Moreover, there is an old sandstone Buddhist symbol in the form of a cartwheel. The bottom part is the face of a forest keeper. It is kept in a pavilion. Other artefacts include bronze Buddha images, fired clay images, glass beads, a fired clay loom, and a stone inscription tablet. They are on display in Phimai National Museum.


Wat Sala Loi

Wat Sala Loi is to the northeast of the city, 500 metres from Rop Mueang Road. Thao Suranari and her husband built the temple in 1827. The highlight is the convocation hall that was awarded the prize as the best avant-garde religious building from the Siam Architects Society in 1973. The hall is in an applied Thai style in the shape of a junk riding the waves. Local Dan Kwian clay tiles were used to decorate the building to tell the life of Lord Buddha. The door is made of metal with raised designs of the Buddhist tale. The hall houses a large standing white Buddha image. In front of the door is a plaster sculpture of Thao Suranari sitting praying in the middle of a pond. Beside the building is a small pagoda that used to house the ashes of Thao Suranari. A glass wall in the shape of heart-shaped temple boundary markers surrounds the hall.


Prasat Phanom Wan

Prasat Phanom Wan is in Ban Makha, Tambon Pho, around 15 kilometres from the city on the Nakhon Ratchasima-Khon Kaen road. A sign on the right shows the way on a road 5 kilometres more. This is an interesting Khmer sanctuary. It is believed that it was built in the 15th Buddhist century. Later during the 18th-19th centuries, a stone building was built over it. From inscriptions found at the site, it is known that the sanctuary was used in the Hindu religion and later became a Buddhist site. Although most of it is in ruins, there is a clear form present, like the square main pagoda facing east and a tiered pagoda in front, as well as a path linking the two structures.

To the southwest is a building of red sandstone called “Prang Noi.” Inside is a large stone Buddha image. A roofed sandstone walkway and a laterite wall go around the sanctuary. A Gopura (a sanctuary doorway or porch) in the form of a tall tower is situated in all 4 directions. Around 230 metres east of the sanctuary are traces of a moat and an earth hill that was the site of another Khmer building called “Noen Oraphim.”


Nakhon Ratchasima Zoo

Covering an area of 545 rai (218 acres), the zoo is one of the most modern in Asia. The enclosures are large and landscaped by section to match the habitat of each animal most of which have come from Africa. The most popular animals are penguins, seals, African elephants, rhinoceros, cheetahs, lions, zebras, and giraffes. There is also a reptile building and a hornbill garden. In addition to being an ideal place to study biology, the zoo is a great place for relaxation as the grounds are decorated with lovely flowers. Other than the shuttle services that are provided to transport visitors around the zoo, there are bicycles available for rent. The zoo is open daily between 8.30 a.m. and 4.30 p.m. The fee is 10 baht for children, 30 baht for adults, and 30 baht for four-wheel vehicles. For information, call 0 4435 7355, 0 4421 6251-3 or visit www.zoothailand.org

The Zoo is located approximately 18 kilometers south of the city on Highway No. 304 (Nakhon Ratchasima-Pak Thong Chai), however, it is also accessible via Highway No. 2310 (approximately 1 kilometer drive). Visitors traveling by bus from the city can take air-conditioned bus No. 1415.


Lam Takhong Dam

Lam Takhong Dam is at Tambon Lat Bua Khao, around 62 kilometres from the city. A road branches off Highway No. 2 (Nakhon Ratchasima-Saraburi) at Km. 193-194 and drive for about 2 kilometres. The dam is an earth-filled dam across the Lam Takhong River that flows through a crevasse. Built in 1974, its primary purpose is to divert water from above the dam for irrigation. Visitors can walk on the dam to enjoy the view of the reservoir with a beautiful background of mountains. The dam is suitable for relaxation when it is not hot. It is open during 6 a.m.-6 p.m.


Maha Wirawong National Museum

Maha Wirawong National Museum is in Wat Sutthachinda opposite the provincial hall. It displays items that Somdet Phra Maha Wirawong, the ex-abbot of Wat Sutthachinda, collected, as well as artefacts that the Fine Arts Department found in Nakhon Ratchasima and nearby provinces and donations. Most items are Buddha images, including stone images of the Khmer period, images from the Ayutthaya period, bronze images, earthenware, ancient utensils, and woodcarving. The museum is open during 9 a.m.-4 p.m. from Wednesday to Sunday. It is closed on public holidays. The entry fee is 10 baht. For information, call tel. 0 4424 2958.

Prang Ku

Prang Ku is in Wat Ban Ku School, Tambon Don Tanin. Take Highway No. 2 for about 74 kilometres, then turn left at the highway police kiosk to Ban Non Ta Then for around 6 kilometres and turn right to Wat Ban Ku School. The site is a small Khmer pagoda with a square base, built of layers of laterite from bottom to top. However, much of it is in ruins, only part of the low base remains. Inside the pagoda are 4-5 fired clay Buddha images.

 

Rajabhat Nakhon Ratchasima Arts and Culture Center

Rajabhat Nakhon Ratchasima Arts and Culture Center
Rajabhat Nakhon Ratchasima Arts and Cultural Centre is on Suranarai Road. Upon entering Rajabhat Institute, turn left at the sign to a two-story wooden house and Khorat House where information is collected and kept. Also displayed are tools and artefacts that are used to study the way of life of Khorat and northeastern people of the past. The centre is divided into sections, such as Khorat city, ancient documents, local occupation, Isan fabrics, Khorat goods, music, and Khorat people. It is open on weekdays during public hours. For information, call 0 4424 6341 ext. 1216 and fax 0 4424 4739.

Rajabhat Nakhon Ratchasima Arts and Cultural Centre is on Suranarai Road. Upon entering Rajabhat Institute, turn left at the sign to a two-story wooden house and Khorat House where information is collected and kept. Also displayed are tools and artefacts that are used to study the way of life of Khorat and northeastern people of the past. The centre is divided into sections, such as Khorat city, ancient documents, local occupation, Isan fabrics, Khorat goods, music, and Khorat people. It is open on weekdays during public hours. For information, call 0 4424 6341 ext. 1216 and fax 0 4424 4739.

 

Northeastern Museum of Petrified Wood and Mineral Resources

This is the first museum of its kind in Thailand and Southeast Asia which has the most diverse and perfect showcase of fossils presenting with multimedia technology. The 32-acre museum comprises the followings:

- Petrified Wood Museum which exhibits gigantic ancient plants which have been aged for 800,000 years – 720 million years old as well as exhibition on ancient beliefs and folk wisdom about the petrified wood. Visitors are allowed to touch some real petrified wood.

- Ancient Elephant Museum which takes visitors through the tunnel that brings ones back to the ancient time during tthe Neolithic around 3,000 years up to 10 million years, the age of the 4- ivory elephants. Visitors can learn the ancient world from VDO presentation on a translucent screen. The skeleton and model of the 4-ivory elephant indigenous to Nakhon Ratchasima and other fossils are on exhibit there.

- Dinosaur Museum which showcases the moving multimedia presentation of fighting dinosaurs on the 360-degree wall screen as well as dinosaur fossils which were excavated in Nakhon Ratchasima such as Iguanodon, Siammotyrannus, etc.

There are also exhibitions on other geological phenomenon of the Northeastern region, the development of natural resources, the evolution of volcano, the impact of the comet that hit the planet which led to the extinction of dinosaurs and ancient elephants.

Tham Khao Chan Ngam

The cave is located approximately 58 kilometers southwest of the city, off of Highway No. 2. Consisting of a series of rock formations, the cave is notable for its prehistoric paintings with figures of people and animals drawn in coarse red paint. Historians claim that an agrarian community inhabited this area some 3,000 to 4,000 years ago.

Wat Phra Narai

Located on Prajak Road, the monastery houses a Khmer sandstone statue of Vishnu, the Hindu god. This statue is highly revered by local residents and is considered the Provinces most sacred object.


Wat Sala Thong

Wat Sala Thong is in Tambon Hua Thale, about 1 kilometre southeast of the city. This is temple of the Dhamayuti sect. The area around the temple was originally a dense forest where a large sitting stone Buddha image in the Pa Lelai posture was located out in the open. A convocation hall was later built to cover it. The temple has a large pagoda that was built over a smaller one that encased the holy relics of Lord Buddha that were taken from Myanmar’s Chiang Tung.


Wat Thep Phithak Punnaram

Located at Khao Si Siat Aa, in Tambon Klang Dong, the temple houses a huge seated Buddha image that is 27 meters wide and 45 meters high. The image is enshrined on a mountaintop that can be reached via a 1,250 steps representing the number of monks that gathered spontaneously to hear the Lord Buddha's first sermon. (an occasion that is commemorated on Magha Puja Day)


Ban Prasat Archaeological Site

The site is Thailand's second archaeological site (the first was Ban Chiang) to be set up as an outdoor museum. Findings indicate that the area was once inhabited by a prehistory to early history community. In addition, there is evidence that a community of the Dvaravati and Khmer periods thrived here some 1,500 to 3,000 years ago. There are 3 pits that have been landscaped and are open to the public. Discoveries of human skeletons and many pottery pieces that were dug up from various levels are evidence of human evolution, community beliefs and culture.

To get there from the city, take Highway No. 2 (Nakhon Ratchasima-Khon Kaen) for 44 kilometers and then turn right and proceed for 1 kilometer. If going by bus from Bangkok or Nakhon Ratchasima, take a bus bound for Khon Kaen, Udon Thani, Nong Khai, or Kalasin. Get off at the 44-km marker and take a hired motorcycle into the village.


Ban Prasat Home Stay

As there are numerous attractions in the area, home stay is an alternative for visitors interested in spending more than one day at Ban Prasat. The program was first initiated in 1996 and currently serves as the prototype home stay program for other villages across Thailand. The best time for a visit is between October and December when the climate is cool.

Ban Prasat villagers, like other villagers in the region, are mostly farmers. Because rice farming is done once a year, villagers use their free time to supplement their income by creating handicrafts such as weaving reed mats and hats, producing shoes and bags, breeding silkworm, and making Thai stringed musical instruments like So U and So Duang.

Paddy fields surround the village and a river, Than Prasat, which is considered a sacred river, divides Ban Prasat Nua and Ban Prasat Tai. For more information on home stay programs, contact the village headman Mr. Thiam Laongklang, tel. (66) 4436-7075 or Mr. Charan Chomklang, tel. (66) 4436-7062.


Lam Takhong Rest Area

This rest area is also known as Suan Na Chat, is a rest area for vehicle drivers to relax from driving. It is on Highway No. 2 (Saraburi-Nakhon Ratchasima) between the 193 and 194 kilometer markers on an area of 16.89 square kilometers. This place offers the most beautiful view north of Lam Takhong reservoir. It has a complete range of services and facilities and is an example of a modern rest area. Moreover, it is called the gateway to the Northeast.

The Information Center in the rest area provides tourist information about the northeastern provinces, accommodations, viewpoints, a garden, food and beverage stores, a convenience store, restrooms, and public telephones. In addition, there is also a sculpture of General Chatchai Choonhavan, a former prime minister, in a standing position with arms folded and leaning against his favorite motorcycle. The sculpture measures 3.40 meters high and is made from green sandstone.

The main activity for visitors at Lam Takhong is rafting on a route that goes past homes, orchards and green trees. The difficulty level is at 1-2, which is not too hard for rafting novices. Moreover, the area is suitable for a family outing. The best time to visit is between May and September because there is lots of water that can create some excitement that is not dangerous. During the dry season there is too little water for rafting. Each rafting trip takes about 2 hours and visitors can add to their enjoyment by taking an elephant ride afterwards. For more information on the elephant ride, contact Pang Chang Khao Yai on Thanarat Road, Kilometer 19.5, Tel. (66) 4429-7183.

Rafting on Lam Takhong

This route takes you past homes, orchards and green trees. The difficulty level is at 1-2, which is not too hard for rafting novices. The area is good for family outing. The best time to come is during May-September because there is lots of water that can create some excitement that is not dangerous. There is too little water in the dry season to do rafting. Each rafting trip takes about 2 hours and tourists can add to their enjoyment by taking an elephant ride afterwards. For information, contact Pang Chang Khao Yai on Thanarat Road, Km. 19.5, tel. 0 4429 7183.

Maize and Sorghum Research Centre (Rai Suwan)

Maize and Sorghum Research Centre (Rai Suwan)
Location: Tambon klang Dong, Amphoe Pak Chong, Nakhon Ratchasima 30320. Tel. (66) 4436-1770-4 Formerly called Thana Farm and belonging to Field Marshall Sarit Thanarat, the Farm was later transferred to Kasetsart University and became the Maize and Sorghum Research Center. The main purpose of the Center is to carry out research and publicize technology for the growing of maize and sorghum as well as other field crops. The Center also other provides support for research and training at both domestic and international levels, in addition, to producing seeds of maize, sorghum and other field crops. Basic tourist facilities provided are a touring route, toilets, field crop seeds for sale and food stalls. Advance contact is recommended.

Location: Tambon klang Dong, Amphoe Pak Chong, Nakhon Ratchasima 30320. Tel. (66) 4436-1770-4

Formerly called Thana Farm and belonging to Field Marshall Sarit Thanarat, the Farm was later transferred to Kasetsart University and became the Maize and Sorghum Research Center. The main purpose of the Center is to carry out research and publicize technology for the growing of maize and sorghum as well as other field crops. The Center also other provides support for research and training at both domestic and international levels, in addition, to producing seeds of maize, sorghum and other field crops. Basic tourist facilities provided are a touring route, toilets, field crop seeds for sale and food stalls. Advance contact is recommended.

Mueang Sema Historical Site

Mueang Sema Historical Site is in Tambon Sema, about 37 kilometres from the city. From Amphoe Sung Noen go across Lam Takhong River past Ban Hin Tang to Sema 4 kilometres away. The Sema city plan is egg-shaped and is 3 kilometres wide and 4 kilometres long. You can still see evidence of city moats and some earth walls. The city flourished during the Dvaravati period and was built around the 12th Buddhist century. It grew until the 16th-17th Buddhist centuries when it came under Khmer influence. In the area are ruins made of laterite and sandstone and many artefacts have been unearthed here. The most interesting one is the reclining sandstone Buddha image and an old religious relic that is now in Wat Thammachak Semaram.

Chom Tawan Beach (Hat Chom Tawan)

This is a large beach by the lake, under the office of the 5th Thap Lan National Park Management Area (Lam Plai Mat) that is responsible for jungles in the park in Soeng Sang, Khon Buri and Wang Nam Khiao Districts. A rest area has been developed for the public around the reservoir and plots of land have been designated for locals to make a living and reduce the problem of illegal logging. Tourists normally come to this beach to swim, dine, camp and enjoy the scenery. Long-tail boats can be hired to go on the reservoir. Trekking to various spots like Wang Phi Sua (where a lot of butterflies can be seen in winter), Phra cave, Communist cave and the gigantic Takhian Thong tree that is believed to be over a thousand years old are also popular activities. For more information, call (66) 4444-8386.

Mueang Phon Greenhouse

Location: 204/44 Mu 1, Mittraparp Highway, Tambon Khlong Phai, Amphoe Sikhio, Nakhon Ratchasima 30340. Tel. (66) 4432-3459-60, (66) 4432-3263. Fax (66) 4436-3264.

This garden has over 300 kinds of tropical and temperate flowering, decorative, fruit bearing as well as perennial plants. After touring the garden visitors can try the house specialty, ostrich steaks, at the restaurant overlooking the reservoir of Lam Ta Khong Dam. Basic tourist facilities provided. Please contact the management in advance.

Sikhio Quarry

Sikhio Quarry is on Mittraphap Road, about 50 kilometres from the city at Km. 205-206. To the left is a hill of white sandstone. There are traces of square boulders that were mined here, as well as marks left by chisels. Stones from here were probably used in the construction of nearby sanctuaries like Mueang Khaek, Non Ku and Mueang Kao.

Wat Khao Chan Ngam

Wat Khao Chan Ngam is at Ban Loet Sawat. From the city, take Highway No. 2 for 55 kilometres. At Km. 200-201 take a left turn for about 3 kilometres. The temple has prehistoric drawings in the back. To see them, walk past a rock garden and a shady and peaceful forest for about 150 metres. The drawings are in coarse red paint the length of a sandstone cliff about 4 metres above ground. The figures are of people and animals and tell the way of life and some human activities like attire and hunting. It is believed that an agrarian community in the area drew them 3,000-4,000 years ago.


Prang Sida

Prang Sida is similar to Prang Ku at Tambon Don Tanin, but this pagoda is closed on all 4 sides. It was a Brahman religious site, dated from around the 12th-13th Buddhist centuries, that was constructed entirely of laterite in the ancient Khmer style with sculpted plaster designs facing the east and an outer wall surrounding the site. From the Khorat city, take Highway No. 2 for about 84 kilometers to Sida intersection and turn right onto Highway No. 202 (to Amphoe Prathai) for about 1.5 kilometers, then take a left and proceed for about 2 kilometers to the temple.


Prasat Nang Ram

This site, called Arokhayasan (a hospital) by the ancient Khmers, was built in the 13th century during the reign of King Chaiworaman VII and comprises of 2 groups of buildings situated close together. The more complete pagodas face the east and are surrounded by a laterite wall. To the northeast outside the wall is a pool and another group of historical buildings where many beautiful lintels are found.

The site can be reached by taking Highway No. 2 for about 62 kilometers to Ban Wat intersection. From there turn right onto Highway No. 207 and proceed for about 22 kilometers to Ban Ya Kha (or about 11 kilometers before reaching Prathai town) and turning left and proceeding 4 kilometers to the sanctuary.

Lam Phra Phloeng Dam

Lam Phra Phloeng Dam can be reached by taking Highway No.304 past the district for 4 kilometres then turn right and drive for 28 kilometres. The dam is under the Royal Irrigation Department. Locals come here to relax, eat, fish, and enjoy the scenery of the reservoir. There are lodges for rent. For information, contact the Lam Phra Phloeng Water Supply and Maintenance Project at tel. (044) 373184 ext. 114. Tourists can rent a long-tail boat to tour the reservoir, travel to Khlong Ki waterfall or Khun Chon waterfall. Each round-trip journey is about 3-4 hours. For information, contact Lam Phra Phloeng Dam Club at tel. 0 4437 3184 ext. 117.

 

Huay Yai Waterfall (Namtok Huay Yai)

This small waterfall, which flows past 2 large boulders, is a tourist attraction under the care of Thap Lan National Park. It should be noted that the waterfall only has water only in the rainy season or between July and September. To reach the waterfall, take Highway No. 304 to the market at the 79 kilometer marker and proceed for 6 kilometers. The entrance is a sloped walkway about 20 meters long.


นครราชสีมา : ข้อมูลทั่วไป

เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน

        นครราชสีมา หรือที่เรียกว่า “โคราช” เปรียบเสมือนประตูสู่ภาคอีสาน อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 259 กิโลเมตร เป็นเมืองใหญ่บนดินแดนที่ราบสูง ที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว ผู้มาเยือนจะเพลิดเพลินกับกิจกรรมท่องเที่ยวที่หลากหลายทั้งเดินป่าศึกษา ธรรมชาติ พักผ่อนหย่อนใจริมอ่างเก็บน้ำ ชื่นชมความยิ่งใหญ่ของอารยธรรมขอมโบราณ และเรียนรู้วัฒนธรรมพื้นบ้าน ทั้งยังได้อิ่มอร่อยกับอาหารอีสานต้นตำรับ ก่อนกลับยังได้ซื้อหาสินค้าเกษตรหัตถกรรมพื้นบ้านที่มีให้เลือกอีกมากมาย
คำว่า นครราชสีมา เกิดจากการรวมชื่อเมืองโบราณสองเมือง คือ เมืองโคราชและเมืองเสมา ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอโนนสูง นครราชสีมาเคยเป็นที่ตั้งของชุมชนโบราณหลายแห่งตั้งแต่สมัยก่อนประวัติ ศาสตร์ จนถึงสมัยที่มีการเผยแพร่ของวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรมแบบขอมเข้ามาในดิน แดนแถบนี้ เคยมีฐานะเป็นเมือง “เจ้าพระยามหานคร” เช่นเดียวกับเมืองนครศรีธรรมราชทางภาคใต้ มีอำนาจปกครองหัวเมืองน้อยใหญ่ในอีสานหลายแห่ง จนมาถึงปัจจุบันก็ยังคงความสำคัญอย่างต่อเนื่องในฐานะที่เป็นเมืองศูนย์กลาง ทางด้านคมนาคม เศรษฐกิจของภาคอีสาน

จังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่ประมาณ 20,494 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 32 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครราชสีมา ปากช่อง สีคิ้ว สูงเนิน ขามทะเลสอ ด่านขุนทด โนนไทย โนนสูง ขามสะแกแสง พิมาย คงโนนแดง ประทาย ชุมพวง บัวใหญ่ แก้งสนามนาง บ้านเหลื่อม จักราช ห้วยแถลง ปักธงชัย โชคชัย ครบุรี เสิงสาง หนองบุนนาก วังน้ำเขียว เฉลิมพระเกียรติ เมืองยาง เทพารักษ์ ลำทะเมนชัย พระทองคำ บัวลายและสีดา

อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่น
ทิศใต้ ติดกับจังหวัดนครนายก และปราจีนบุรี
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดชัยภูมิ และสระบุรี

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ

  1. ททท. สำนักงานนครราชสีมา (นครราชสีมา ชัยภูมิ) อ.เมือง นครราชสีมา โทร. 0 4421 3666, 0 4421 3030
  2. ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 4425 1818
  3. ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155, 0 4434 1777-9
  4. ท่าอากาศยานนครราชสีมา โทร. 0 4425 9524
  5. บมจ. การบินไทย (สนามบิน) โทร. 0 4425 5425
  6. โรงพยาบาลมหาราช โทร. 0 4425 4990-1
  7. สถานีขนส่งแห่งที่ 1 โทร. 0 4424 2889
  8. สถานีขนส่งแห่งที่ 2 โทร. 0 4425 6006-9
  9. สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 4424 2010
  10. สถานีรถไฟ โทร. 0 4424 2044
  11. สำนักงานจังหวัด โทร. 0 4424 3798

Link ที่น่าสนใจ

ททท. สำนักงานนครราชสีมา (นครราชสีมา ชัยภูมิ)
http://www.tourismthailand.org/nakhonratchasima
สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา
http://www.nakhonratchasima.go.th
อำเภอวังน้ำเขียว
http://www.wnk.go.th

 

นครราชสีมา : ข้อมูลการเดินทาง

ข้อมูลการเดินทางของ จ. นครราชสีมา

การเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปนครราชสีมา
รถยนต์

จากกรุงเทพฯ เดินทางไปนครราชสีมาได้หลายเส้นทาง เส้นทางที่นิยมที่สุดคือ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) แยกเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (มิตรภาพ) ที่สระบุรี ไปจนถึงนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 259 กิโลเมตร อีกเส้นทางคือ จากกรุงเทพฯ ผ่านมีนบุรี ฉะเชิงเทรา พนมสารคาม กบินทร์บุรี ปักธงชัย ถึงนครราชสีมา รวมระยะทางประมาณ 273 กิโลเมตร หรืออาจเลือกใช้เส้นทางรังสิต-นครนายก ต่อทางหลวงหมายเลข 33 ไปกบินทร์บุรี แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 304 ผ่านวังน้ำเขียว ปักธงชัย เข้านครราชสีมา

รถไฟ
มีรถไฟออก จากสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) ไปนครราชสีมาทุกวัน รายละเอียดสอบถามที่หน่วยบริการเดินทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 www.railway.co.th

รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ออกจาก สถานีขนส่งหมอชิต 2 ไปนครราชสีมาทุกวันและตลอดทั้งวัน รายละเอียดสอบถาม โทร. 0 2936 1880, 0 2936 0657 , 0 2936 2852-66 บริษัทเอกชนที่เปิดบริการเดินรถคือ บริษัท ราชสีมาทัวร์ โทร. 0 44 24 5443 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 1615 และ บริษัทแอร์โคราช โทร. 0 44 25 2999 กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 2252

สถานีขนส่งที่นครราชสีมามีสองแห่งคือ สถานีขนส่งแห่งที่ 1 ถนนบุรินทร์ โทร. 0 44 24 2899, 0 4426 8899 และสถานีขนส่งแห่งที่ 2 ถนนมิตรภาพ-ขอนแก่น โทร. 0 44 25 6006-9 ต่อ 175, 176 (รถปรับอากาศ) , 178 (รถธรรมดา) www.transport.co.th

การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.นครราชสีมา
รถโดยสารวิ่งบริการระหว่างจังหวัดจะออกจากสถานีขนส่งแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-ขอนแก่น) โดยมีรถจากนครราชสีมาไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสานได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ (สายเก่าผ่านนางรอง และสายใหม่ผ่านห้วยแถลง) สุรินทร์ (ผ่านนางรอง-บ้านตะโก) นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารไปยังจังหวัดในภาคอื่นได้แก่ กรุงเทพฯ ชลบุรี พัทยา ระยอง จันทบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ และเชียงราย (ไปจนถึงแม่สาย)

การเดินทางจากนครราชสีมาไปยังจังหวัดใกล้เคียง

รถโดยสารวิ่งบริการระหว่างจังหวัดจะออกจากสถานีขนส่งแห่งที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-ขอนแก่น) โดยมีรถจากนครราชสีมาไปยังจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสานได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ (สายเก่าผ่านนางรอง และสายใหม่ผ่านห้วยแถลง) สุรินทร์ (ผ่านนางรอง-บ้านตะโก) นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารไปยังจังหวัดในภาคอื่นได้แก่ กรุงเทพฯ ชลบุรี พัทยา ระยอง จันทบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ และเชียงราย (ไปจนถึงแม่สาย)

การเดินทางจากอำเภอเมืองนครราชสีมาไปยังอำเภอต่าง ๆ

  1. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 18 กิโลเมตร
  2. อำเภอขามทะเลสอ 22 กิโลเมตร
  3. อำเภอโนนไทย 29 กิโลเมตร
  4. อำเภอโนนแดง 30 กิโลเมตร
  5. อำเภอโชคชัย 31 กิโลเมตร
  6. อำเภอปักธงชัย 34 กิโลเมตร
  7. อำเภอสูงเนิน 36 กิโลเมตร
  8. อำเภอโนนสูง 37 กิโลเมตร
  9. อำเภอพระทองคำ 37 กิโลเมตร
  10. อำเภอจักราช 40 กิโลเมตร
  11. อำเภอสีคิ้ว 45 กิโลเมตร
  12. อำเภอขามสะแกแสง 50 กิโลเมตร
  13. อำเภอหนองบุนนาก 52 กิโลเมตร
  14. อำเภอครบุรี 58 กิโลเมตร
  15. อำเภอพิมาย 60 กิโลเมตร
  16. อำเภอห้วยแถลง 65 กิโลเมตร
  17. อำเภอวังน้ำเขียว 70 กิโลเมตร
  18. อำเภอคง 79 กิโลเมตร
  19. อำเภอด่านขุนทด 84 กิโลเมตร
  20. อำเภอบ้านเหลื่อม 85 กิโลเมตร
  21. อำเภอปากช่อง 85 กิโลเมตร
  22. อำเภอสีดา 85 กิโลเมตร
  23. อำเภอเสิงสาง 88 กิโลเมตร
  24. อำเภอเทพารักษ์ 90 กิโลเมตร
  25. อำเภอประทาย 97 กิโลเมตร
  26. อำเภอชุมพวง 98 กิโลเมตร
  27. อำเภอบัวใหญ่ 101 กิโลเมตร
  28. อำเภอบัวลาย 106 กิโลเมตร
  29. อำเภอเมืองยาง 110 กิโลเมตร
  30. อำเภอแก้งสนามนาง 130 กิโลเมตร
  31. อำเภอลำทะเมนชัย 130 กิโลเมตร

นครราชสีมา : วัฒนธรรมประเพณี

งานประเพณีสงกรานต์ จังหวัดนครราชสีมา
วันที่ 13 - 15 เมษายน 2552
ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัด ลานอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา

กิจกรรม
การประกวดขบวนแห่รถสงกรานต์ พิธีทำบุญตักบาตรเช้า บริเวณลานอนุสาวรีย์ท้าสุรนารี พิธีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่การละเล่นพื้นเมือง การแสดงคอนเสิร์ตของศิลปิน การละเล่นน้ำสงกรานต์แบบไทย ๆ บริเวณถนนในเขตเทศบาล เช่น ถนน ราชดำเนิน, โพธิ์กลาง, สุรนารี

สอบถามรายละเอียด
เทศบาลนคร นครราชสีมา โทร. 0 4423 4763, 0 4424 2007 ต่อ 1534


งานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี ประจำปี 2552
วันที่ 23 มีนาคม – 3 เมษายน 2552
ณ บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา

จังหวัดนครราชสีมา ร่วมกับ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานนครราชสีมา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอเชิญทุกท่านร่วมงานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี ประจำปี 2552 ในระหว่างวันที่ 23 มีนาคม 2552 – 3 เมษายน 2552 ณ บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา

นายอรรถพล วรรณกิจ ผู้อำนวยการ ททท. สำนักงานนครราชสีมา เผยว่าการจัดงานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี ถือเป็นงานที่จังหวัดนครราชสีมา และชาวนครราชสีมาได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี และถือเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสักการะ การเคารพซึ่งวีรกรรมของคุณ หญิงโม ทั้งนี้รูปแบบการจัดงานที่น่าสนใจมีมากมาย อาทิ ขบวนสักการะและขบวน รำบวงสรวงคุณย่าโม การวิ่งคบไฟและจุดพลุ การออกร้านและนิทรรศการของภาครัฐ และภาคเอกชน การแสดงและจำหน่ายสินค้าที่มีชื่อเสียงของโคราช การประกวดนาง สาวนครราชสีมา การแสดงดนตรีคอนเสิร์ต ลูกทุ่ง สตริง ตลอดการจัดงานทั้ง 12 วัน 12 คืน และอีกหนึ่งกิจกรรมที่เกิดขึ้นในการจัดงานครั้งนี้ คือ การแสดง แสง สี เสียง สุดยิ่งใหญ่ ที่แสดงเรื่องราววีรกรรม วีรสตรีคุณหญิงโม จัดแสดงขึ้นที่สนามกีฬาค่ายสุรนารี โดยได้รับเกียรติการ แสดงจากศิลปิน ดารานักแสดงมากมาย และกระผมยังได้รับเกียรติแสดงเป็น “เจ้าอนุวงศ์” เจ้าเมืองเวียงจันทน์ “กิจกรรมการจัดงานที่ยิ่งใหญ่ในครั้งนี้ ถือเป็นสิ่งที่ช่วยให้การท่อง เที่ยวเมืองโคราชมีความครึกครื้น เศรษฐกิจโคราชได้มีความคึกคัก” และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด นครราชสีมาได้เป็นอย่างดียิ่ง

นักท่องเที่ยวที่สนใจสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานจังหวัดนครราชสีมา โทร. 0-4424-3798 หรือที่ ททท.สำนักงานนครราชสีมา โทร.0-4421-3666, 0-4421-3030 ทุกวันในเวลาราชการ

การแสดงแสงเสียงขนาดเล็ก “วิมายนาฎการ”
ณ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา
นครราชสีมา เป็นจังหวัดสำคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีความเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง มาแต่อดีตอันยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นด้านประวัติศาสตร์อารยธรรมขอมโบราณ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีเสน่ห์ นอกจากนี้ยังเปรียบเสมือนประตูสู่ภาคอีสานและเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้าง ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
กิจกรรมท่องเที่ยวที่น่าสนใจทั่วไป
- การท่องเที่ยวตามแหล่งอารยธรรมขอมโบราณ
- “วิมายนาฏการ” เป็นการแสดงที่เกิดจากจินตนาการนำภาพจำหลักจากปราสาทหินพิมายออกมาเป็นนาฏลีลา
- “งานเทศกาลเที่ยวพิมาย” จัดช่วงหยุดสัปดาห์ที่สองของเดือนพฤศจิกายนทุกปี

สถานที่จัดงาน
อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
รายละเอียดของกิจกรรม “วิมายนาฏการ”
* เวลา 18.00 น. พิธีการต้อนรับและบายศรีสู่ขวัญของชาวพิมาย
* เวลา 18.10 น. นำชมสถาปัตยกรรมล้ำค่าแห่งศิลปะขอมโบราณภายในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย
* เวลา 18.30 น. อิ่มอร่อยกับอาหารค่ำในบรรยากาศ ท่ามกลางโบราณสถานพร้อมการแสดงนาฏศิลป์ไทยพื้นบ้าน
* เวลา 19.20 น. ย้อนอดีตสู่อดีตกับการแสดงประกอบแสงเสียง (ขนาดย่อม) “วิมายนาฏการ” เพื่อบอกเล่า ถึงความเจริญรุ่งเรืองเมื่อครั้งอดีตกาลของเมืองพิมายและอารยธรรมขอมโบราณ
* เวลา 19.45 น. กลับที่พักจังหวัดนครราชสีมา เพื่อเดินทางท่องเที่ยวในกิจกรรมอื่นๆ ที่น่าสนใจในวันต่อไป

ระยะเวลาการจัดงาน ตลอดปี 2543-2544
- วันเสาร์ที่ 27 มกราคม
- วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์
- วันเสาร์ที่ 31 มีนาคม
- วันเสาร์ที่ 28 เมษายน

ระบบเสียง และสื่อภาษาต่างประเทศ
- ระบบเสียงบรรยายจัดทำเป็น คอมแพ็คดิสก์ ความยาวประมาณ 28 นาทีต่อรอบ
- นักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มสามารถเลือกฟังเสียงบรรยายเพื่อชมการแสดงเป็นเสียงภาษาไทย หรือ ญี่ปุ่น หรือฝรั่งเศส ได้เพียง1 ภาษาต่อรอบ
- นักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มสามารถเลือกฟังเสียงบรรยาย เพื่อชมการแสดง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
ข้อมูลทางการท่องเที่ยวและรับจองชมการแสดงล่วงหน้าได้ที่
- สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา
โทร. (044) 260331 โทรสาร (044) 260331
- สำนักงาน ททท. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขต 1 (นครราชสีมา)
โทร. (044) 213666 โทรสาร (044) 213667
- อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย
โทร. (044) 471568

งานฉลองวันแห่งชัยชนะท้าวสุรนารี

ประวัติ / ความเป็นมา
“ท้าวสุรนารี” หรือ “คุณหญิงโม” เดิมชื่อ “โม” หรือ “โม้” เกิดเมื่อ พ.ศ. 2314 เป็นภรรยาปลัดเมืองนครราชสีมา เป็นวีรสตรีของชาติไทยเนื่องจากเป็นผู้ประกอบวีรกรรมในคราวเจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทน์ก่อการกบฏในปี พ.ศ. 2369 โดยยกกองทัพเข้ายึดเมืองนครราชสีมาไว้แล้วกวาดต้อนผู้คนไปเป็นเชลย เมื่อมาถึงทุ่งสัมฤทธิ์ คุณหญิงโมได้นัดแนะราบรวมกำลังชายหญิงเข้าต่อสู้จนกองทัพเวียงจันทน์แตกพ่าย ไป และในที่สุดกองทัพไทยก็ได้ยกไปปราบเจ้าอนุวงศ์และกอบกู้เมืองนครราชสีมากลับ คืนมาได้
ด้วยวีรกรรมครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ สถาปนาคุณหญิงโมให้เป็น “ท้าวสุรนารี” ได้ถึงแก่อสัญกรรมเอเดือน 5 ปีชวด พ.ศ. 2395 รวมอายุได้ 81 ปี
ชาวเมืองนครราชสีมาได้ร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีขึ้น โดยสร้างรูปหล่อด้วยทองสัมฤทธิ์หนัก 325 กิโลกรัม สูง 1.85 เมตร โดยฝีมือของศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ลักษณะเป็นผู้หญิงไทยไว้ผมทรงดอกกระทุ่ม แต่งกายด้วยเครื่องยศพระราชทาน คือ ผ้านุ่งยกทอง คาดเข็มขัด ห่มสไบเฉียง มือขวากุมดาบ มือซ้ายเท้าสะเอวในท่วงท่าสง่างามหันหน้าออกนอกเมืองซึ่งจะมองเป็นคนเดินทาง เข้ามาสู่เมืองโคราช อนุสาวรีย์แห่งนี้ประดิษฐานอยู่บนแท่นสี่เหลี่ยมซึ่งตั้งอยู่กลางลานคอนกรีต ที่ยกพื้นสูงจากถนนโดยรอบด้านหลังประตูชุมพล อันเป็นประตูเมืองด้านตุวันตกสมัยโบราณ
ทุกวันนี้ผู้เดินทางมาถึงเมืองนี้จะไปทำความเคารพสักการะที่อนุสาวรีย์แห่ง นี้เสมอ บ้างก็ถวายดอกไม้ผ้าแพรพรรณหรือหมากพลู และ “เพลงโคราช” ตามที่ได้บนบานศาลกล่าวเอาไว้ และกล่าวกันว่าท้าวสุรนารีชอบ ถึงกับมีคณะเพลงโคราชคอยรับจ้างแสดงอยู่ที่บริเวณใกล้ ๆ อนุสาวรีย์

กำหนดงาน
เริ่มตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่ท้าวสุรนารีขับไล่กองทัพเจ้าอนุวงศ์ออกจากเมืองนครราชสีมาได้ ถึงวันที่ 3 เมษายน รวม 11 วัน ณ บริเวณรอบอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ใจกลางเมืองนครราชสีมา สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival

กิจกรรม / พิธี
มีการวางพวงมาลาและบวงสรวงดวงวิญญาณของท้าวสุรนารีในวันแรก มีขบวนแห่ของกลุ่มมวลชนโดยเฉพาะกลุ่มไทยอาสาป้องกันชาติ (ทส.ปช.) เพราะได้กำหนดให้วันที่ 23 มีนาคมนี้ เป็นวัน ทส.ปช.ด้วย นอกจากนั้นมีการออกร้าน จำหน่ายผลิตภัณฑ์และการประกวดผลิตผลการเกษตร การประกวดธิดาท้าวสุรนารี การแสดงละครกลางจ้าเกี่ยวกับประวัติวีรกรรมของท้าวสุรนารี ตลอดจนมหรสพต่าง ๆ อย่างมากมายตลอดงาน


ประเพณีการเข้าสุหนัต (มาโซะยาวี)
ประวัติ / ความเป็นมา
การเข้าสุหนัต หรือมาโซะยาวี เป็นประเพณีการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumscission) ซึ่งชาวมุสลิมทุกคนต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

มาโซะยาวี เป็นภาษาถิ่นมลายู หมายถึง การขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศ (มาโซะ = ตัด, ยาวี รหือยาวา หมายถึง ชาวชวาที่นำเอาศาสนาอิสลามมาเผยแพร่ครั้งรก ณ เมืองปัตตานี ยาวีจึงมีความหมายกว้าง หมายถึง มุสลิม รวมความแล้ว มาโซะยาวี หมายถึง การตัดหรือขลิบอวัยวะเพศ เพื่อเป็นมุสลิม) การขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพส เป็นสิ่งที่ท่านศาสดาทั้งปฏิบัติ และให้ปฏิบัติ ในสังคมชาวไทยมุสลิมจึงนิยมเรียกการปฏิบัตินี้ว่าการเข้าสุหนัตแทนการใช้ ศัพท์จากภาษาอาหรับ ซึ่งเรียกการขลิบนี้ว่า “คอตัน” ส่วนภาษามลายูใช้ศัพท์คำว่า “มาโซะยาวี”

ชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่นิยมทำการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพสในทารพ หรือเด็กเล็ก จึงมักทำเมื่อเด็กโตขึ้น อายุประมาณ 7-10 ขวบขึ้นไป ตามหลักแล้วศาสนาอิสลามส่งเสริมให้ชาวมุสลิมเข้าสุหนัต แต่ก็ไม่ได้บังคับใครจะทำหรือไม่ทำก็ได้ แต่ถ้าไม่ทำก็ถือว่าเป็นมุสลิมไม่สมบูรณ์และยังต้องทำความสะอาดอวัยวะเพศทุก ครั้งก่อนจะทำพิธีละหมาด วันละ 5 เวลา ซึ่งเป็นการยุ่งยากเสียเวลา ดังนั้น ชาวมุสลิมจึงนิยมทำสุหนัต เพื่อความสะอาดและหมดปัญหา นอกจากนี้การเข้าสุหนัตยังเพื่อต้องการเป็นมุสลิมที่สมบูรณ์ เพื่อความสะดวกในการทำความสะอาดอวัยวะเพศในการอาบน้ำละหมาดวันละ 5 เวลา และยังเป็นการสร้างสัมพันธ์อันดีต่อญาติพี่น้อง เพื่อนๆ และชาวมุสิลมด้วยกันอีกทั้งเป็นการรักษากฎประเพณีอันดีงามของชาวมุสลิมอีก ด้วย

กำหนดงาน
การเข้าสุหนัตหรือมาโซะยาวี ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยจะทำเมื่อเด็กผู้จะเข้าพิธี อายุระหว่าง 7-10 ขวบขึ้นไป และขึ้นอยู่กับความพร้อมของเจ้าภาพด้วย ไม่มีช่วงเวลาที่แน่นอน

กิจกรรม / พิธี
การเข้าสุหนัตถือว่าเป็นพิธีที่สำคัญพิธีหนึ่งของชาวมุสลิม ดังนั้นก่อนการเข้าสุหนัตจึงได้มีการจัดพิธีกินเหนียวหรือกินเลี้ยง เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่บรรดาผู้ที่จะเข้าสุหนัต งานกินเหนี่ยวหรือการกินเลี้ยงนั้น มีขนาดใหญ่โตมากน้อยแต่ไหนขึ้นอยู่กับฐานะของเจ้าภาพผู้จัดงาน คือ ถ้าเจ้าภาพเป็นผู้มีฐานะดีก็มีการจัดงานอย่างใหญ่โต มีการเชิญญาติพี่น้องและแขกมาร่วมงานอย่างมากมาย มีการล้มวัว ควาย แพะ แกะ อย่างละหลายๆ ตัว นอกจากนี้ยังมีมหรสพสมโภช เช่น หนังตะลุง โนรา ลิเกฮูลู อีกด้วย บางงานเจ้าภาพมีฐานะดีมากๆ อาจจัดถึง 7 วัน 7 คืน ก็มี

ส่วนเจ้าภาพที่มีฐานะไม่ค่อยดีนักก็เพียงเชิญญาติพี่น้องเพ่อบ้านที่สนิท จริงๆ มาร่วมรับประทานอาหารด้วยกันเท่านันแขกผู้ถูกรับเชิญมากินเลี้ยงเรียกว่า “มาแกปุโละ” และเมื่อการกินเลี้ยงจบลง แขกผู้มางานก็มักจะมอบเงินใส่ซองให้แก่ผู้จัดงานตามฐานะเท่าไหร่ก็ได้ การจัดงานเลี้ยงถือได้ว่าเป็นหน้าเป็นตาของผู้จัดอย่างมาก ถ้างานยิ่งใหญ่โตมากผู้จัดก็จะยิ่งมีหน้ามีตาในสังคมมากด้วย

การทำพิธีสุหนัตเริ่มขึ้นในตอนเย็น โดยจัดให้มีการบายศรี (บุหงาสำระ) มีข้าวเหนียวแดงเหลือง ขาว ประกอบพิธี ผู้เข้าสุหนัตแต่งตัวโอ่อ่าตามแบบชาวมลายู คือ นุ่งกางเกงขายาว แล้วนุ่งโสร่งทับแค่เข่า สวมเสื้อแขนยาวคอปก และมีผ้าโพกศีรษะ ต่อมาในวันรุ่งขึ้นเริ่มด้วยการจัดขบวนแห่เด็ก ผู้จะเข้าสุหนัตซึ่งเรียกว่า “อาเนาะตูนอ” ผู้มีฐานะดีก็จัดขบวนขนาดใหญ่มีการแห่นก แห่ช้าง ขบวนรถยนต์ จักรยานยนต์ร่วมขบวนเป็นที่สนุกสนาน เสร็จแล้วก็ให้เด็กที่จะเข้าสุหนัตอาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดแล้วนุ่งผ้าขาว ม้าหรือผ้าถึงผืนเดียว (โดยมากมักลงแป้งให้แข็ง เพราะเวลานุ่งจะได้โป่งออกไม่กระทบผิวหนัง) เข้าไปในโรงพิธีโดยในโรงพิธีมีหยวกกล้วยและในตองรองไว้ มีผู้ทรงคุณวุฒิทางศาสนา ได้แก่ โต๊ะครู โต๊ะอิหม่าม หรือผู้อาวุโส เชิญ โต๊ะ มูเด็ง (ผู้ทำพิธีขลิบ) มาอ่านดูอา เพื่อเป็นการขอพรจากพระเจ้า เสร็จแล้วมีการเลี้ยงอาหารจากนั้นโต๊ะ มูเด็งพาเด็กชายผู้จะเข้าสุหนัต ไปนั่งคร่อมบนหยวกกล้วย เพื่อให้เกิดความเย็นชาเวลาขลิบจะได้ไม่เจ็บ แต่ปัจจุบันมียาชาและน้ำแข็งช่วย การนั่งบนหยวกกล้วยจึงไม่ค่อยนิยม โต๊ะมูเด็งหรือหมอผู้ทำการขลิบจะวัดระยะของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศที่จะขลิบ ออก โดยมีผู้ช่วยจับเด็กชายในท่าล็อคคอ เพื่อป้องกันการดิ้นซึ่งจะทำให้เกิดอันตรายขณะขลิบ จากนั้นดึงปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศออกมา โต๊ะมูเด็งกล่าวนามพระผู้เป็นเจ้าพร้อมกับลงมือตัดหนังหุ้มที่ทำเครื่องหมาย ไว้ด้วยมีดหรือกรรไกร เสร็จแล้วจึงเอายาใส่แผล ซึ่งสมัยก่อนยาใส่แผลมักเป็นสมุนไพร เปลือกไม้ แต่ปัจจุบันในยาตำราหลวงรักษาการอักเสบ ซึ่งสะดวกและหายเร็วและพันแผลไว้ประมาณ 15 วัน แผลก็จะหายสนิท เวลาที่นิยมทำมักเป็นเวลาเช้าหรือเย็นๆ เพราะอากาศเย็นสบายและช่วยการห้ามเลือดไปในตัวด้วย

ปัจจุบันการจัดพิธีมาโซะยาวีหรือเข้าสุหนัต ยังนิยมทำกันในชนบทแบบดั้งเดิม แต่ในเมืองใหญ่นิยมทำกันที่โรงพยาบาล เพราะสะอาดและมีเครื่องมือทันสมัย


นครราชสีมา : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ


อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีเนื้อที่ประมาณ 2,168 ตารางกิโลเมตรในเทือกเขาพนมดงรัก ครอบคลุมพื้นที่ 4 จังหวัด คือ นครราชสีมา นครนายก สระบุรี และปราจีนบุรี ป่าเขาใหญ่สมัยก่อนได้รับสมญานามว่า ดงพญาไฟ ที่ทั้งโหดทั้งดิบสำหรับผู้ที่ต้องเดินทางผ่านป่าผืนใหญ่ที่กั้นแบ่งเขตภาค กลางและภาคอีสาน จนกระทั่งเมื่อประมาณ พ.ศ. 2465 ได้มีชาวบ้านประมาณ 30 ครัวเรือนไปตั้งหลักแหล่ง ถางป่าทำนาทำไร่ สันนิษฐานว่าเป็นพวกที่หลบหนีคดีมา ต่อมาพื้นที่เขาใหญ่ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2505 และได้รับสมญาว่าเป็นอุทยานมรดกของอาเซียน
สภาพทั่วไปของอุทยาน แห่งชาติเขาใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณ และป่าดิบชื้น บางส่วนของพื้นที่เป็นทุ่งกว้างสลับกับป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้ที่มีคุณค่ามากมายทั้งไม้เศรษฐกิจ ไม้หอม และสมุนไพรต่าง ๆ ภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อนประกอบด้วย เขาร่ม ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุด 1,351 เมตร และยอดเขาอื่น ๆ ที่สำคัญมีระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 800-1,300 เมตร ได้แก่ เขาแหลม เขาเขียว เขาสามยอด เขาฟ้าผ่าสูง เขากำแพง เขาสมอปูนและเขาแก้ว ด้านทิศใต้และทิศตะวันตกเป็นที่สูงชัน ส่วนทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกพื้นที่ลาดลง จากระดับความสูงของพื้นที่และความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าดิบ ทำให้เขาใหญ่มีอากาศเย็นสบายแม้ในฤดูร้อน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 23 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวราวเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์เป็นช่วงที่นักท่องเที่ยวนิยมไปเขาใหญ่ มากที่สุด ส่วนในช่วงฤดูฝน สภาพธรรมชาติบนเขาใหญ่ชุ่มช่ำ ป่าไม้และทุ่งหญ้าเขียวขจีสดใส น้ำตกทุกแห่งไหลแรงเสียงดังก้องป่าให้ชีวิตชีวาแก่ผู้ไปเยือนแม้การเดินทาง จะค่อนข้างลำบาก แต่จำนวนนักท่องเที่ยวก็ไม่ได้ลดน้อยลงไปเลย
ป่าเขาใหญ่มีไม้มีค่าและพืชสมุนไพรนานาชนิดที่สมควรได้รับการดูแลอนุรักษ์ ไว้ พันธุ์ไม้ที่น่าสนใจ เช่น ไทร ซึ่งได้รับสมญานามว่า “นักบุญแห่งป่า นักฆ่าแห่งพงไพร” ผลของไทรเป็นอาหารให้สัตว์ป่าหลายชนิดรวมทั้งนกเงือก แต่ในขณะเดียวกันไทรก็เป็นต้นไม้ที่ต้องอิงอาศัยต้นไม้อื่นในการเจริญเติบโต จึงไปแย่งน้ำและอาหารทำให้ต้นไม้นั้นค่อย ๆ ตายไปในที่สุด เตยน้ำ เป็นไม้เลื้อยที่มีกลิ่นคล้ายตะไคร้ภายในมีท่อลำเลียงน้ำขนาดใหญ่สามารถนำมา ดื่มได้ สุรามริด ใช้ดองเหล้าแก้ปวดหลังปวดเอว กะเพราต้น เป็นไม้ใหญ่ยืนต้น แก้เจ็บท้องขับลม เงาะป่า ผลมีขนแข็งสีเหลืองแต่รับประทานไม่ได้ และ กฤษณา ไม้ซึ่งสามารถสกัดเปลือกไปทำเครื่องหอมได้ เป็นต้น สัตว์ป่าที่สามารถพบเห็นบ่อยได้แก่ เก้ง กวาง ตามทุ่งหญ้า นอกจากนี้ยังอาจพบช้างป่า หมีควาย หมูป่า ชะนี เม่น พญากระรอก หมาใน ชะมด อีเห็น กระต่ายป่า รวมทั้งเสือโคร่ง กระทิงและเลียงผาซึ่งก็มีถิ่นอาศัยอยู่ที่เขาใหญ่เช่นกัน
อุทยานฯได้สร้างหอสูงสำหรับส่องดูสัตว์อยู่สองจุด คือ บริเวณมอสิงโตและหนองผักชี อนุญาตให้ขึ้นไประหว่างเวลา 8.00-18.00 น. บริเวณที่ตั้งหอดูสัตว์เป็นทุ่งหญ้าซึ่งเจ้าหน้าที่อุทยานฯจะเผาทุกปีเพื่อ ให้เกิดหญ้าอ่อน หรือหญ้าระบัดขึ้นสำหรับเป็นอาหารสัตว์ และยังมีโป่งดินเค็มที่เป็นแหล่งเกลือแร่ของสัตว์ต่าง ๆ อยู่ด้วย นักท่องเที่ยวที่ต้องการนั่งรถส่องสัตว์ในเวลากลางคืนสามารถติดต่อที่ทำการ อุทยานฯ ก่อนเวลา 18.00 น. เขาใหญ่ยังเหมาะเป็นที่ดูนกและผีเสื้อ จากการสำรวจ พบนกจำนวนไม่น้อยกว่า 293 ชนิด และมีอยู่ 200 ชนิด ที่พบว่าอาศัยป่าเขาใหญ่เป็นแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยอย่างถาวร นกที่น่าสนใจได้แก่ นกเงือกซึ่งถือเป็นตัวบ่งชี้ว่าป่านั้นยังคงความอุดมสมบูรณ์ ที่พบบนเขาใหญ่มีอยู่ 4 ชนิด นอกจากนั้นยังมีนกที่พบเห็นได้บ่อย ได้แก่ นกขุนทอง นกขุนแผน นกพญาไฟ นกแต้วแล้ว นกโพระดก นกแซงแซว นกเขา นกกระปูด ไก่ฟ้า และนกกินแมลงชนิดต่างๆ ส่วนแมลงที่สวยงามและพบเห็นมากคือ ผีเสื้อซึ่งมีอยู่ประมาณ 5,000 ชนิด การเดินป่าศึกษาธรรมชาติ มีเส้นทางให้เลือกกว่า 20 เส้นทาง ที่ต่างกันทั้งความงามของธรรมชาติ และระยะทาง ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินป่า ซึ่งมีตั้งแต่ 1-2 ชั่วโมง เช่น เส้นทางศึกษาธรรมชาติกองแก้ว เส้นทาง กิโลเมตรที่ 33 (ถนนธนะรัชต์-หนองผักชี) หรือที่ต้องเข้าไปพักค้างแรมในป่า เช่น เส้นทางน้ำตกนางรอง-เขาใหญ่ เส้นทางเขาสมอปูน หรือเส้นทางหน่วยฯ ขญ.4-น้ำตกวังเหว เป็นต้น โดยสามารถติดต่อขอรายละเอียดและเจ้าหน้าที่นำทางได้ที่ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
สถานที่น่าสนใจในเขตอุทยาน
น้ำตกกองแก้ว เป็นน้ำตกเตี้ย ๆ ที่เกิดจากห้วยลำตะคองซึ่งเป็นแนวแบ่งเขตจังหวัดนครนายก และนครราชสีมา ในฤดูฝนดูสวยงามมาก เหมาะแก่การเล่นน้ำ สามารถเข้าถึงได้โดยการเดินเท้าจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยวประมาณ 100 เมตร มีสะพานเชือกทอดข้ามลำน้ำให้บรรยากาศการพักผ่อนที่กลมกลืนและบริเวณใกล้ๆ ยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติเส้นสั้นๆ
น้ำตกผากล้วยไม้ เป็นน้ำตกขนาดกลางในห้วยลำตะคองเช่นเดียวกัน ห่างจากที่ทำการฯประมาณ 7 กิโลเมตร สามารถเข้าถึงโดยทางรถยนต์และทางเดินเท้า บริเวณน้ำตกมีกล้วยไม้หวายแดงขึ้นอยู่ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของน้ำตกแห่งนี้และเป็นน้ำตกที่สายน้ำสองสายไหลผ่านชั้น หินทีละชั้นมาบรรจบกันจากน้ำตกผากล้วยไม้มีทางเดินไปน้ำตกเหวสุวัตได้
น้ำตกเหวสุวัต เป็นน้ำตกที่มีชื่อเสียงมากเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป ตั้งอยู่สุดถนนธนะรัชต์ รถเข้าถึง จากลานจอดรถเดินลงไปเพียง 100 เมตร หรือจะเดินเท้าต่อจากน้ำตกผากล้วยไม้ไปประมาณ 3 กิโลเมตร จะได้ เห็นสายน้ำตกลงมาจากหน้าผาสูงราว 20 เมตร มีจุดชมน้ำตกในระยะไกลที่สามารถมองผ่านแมกไม้เห็นภาพของน้ำตกทั้งหมดในมุม สูงได้สวยงาม หรือหากต้องการสัมผัสกับสายน้ำตกและแอ่งน้ำด้านล่าง ก็มีทางเดินลัดเลาะลงไปได้ แต่ในช่วงฤดูฝนน้ำจะมาก ไหลแรง และเย็นจัดควรระมัดระวังอันตราย
น้ำตกเหวไทร-เหวประทุน จากน้ำตกเหวสุวัตมีป้ายบอกทางเดินต่อไปยังน้ำตกสองแห่งนี้ซึ่งตั้งอยู่ไม่ ไกลกันนัก เป็นสายน้ำที่เชื่อมต่อกับน้ำตกเหวสุวัต ทางลงสู่น้ำตกชันมากและลื่นโดยเฉพาะหลังฝนตก บรรยากาศโดยรอบร่มรื่นมาก หากเดินไปอย่างเงียบ ๆ ระหว่างทาง อาจได้พบกับสัตว์เล็ก ๆ เช่น นก กระรอก
น้ำตกเหวนรก เป็นน้ำตกขนาดใหญ่และสูงที่สุดของอุทยานฯ อยู่ห่างจากที่ทำการฯลงมาทางทิศใต้ทางที่จะลงไปปราจีนบุรี โดยต้องเดินเท้าแยกจากทางสายหลักไปประมาณ 1 กิโลเมตร ถึงจุดชมวิวที่มีมุมมองเห็นน้ำตกได้สวยงาม น้ำตกมีทั้งหมด 3 ชั้น ชั้นแรกสูงประมาณ 60 เมตร เมื่อน้ำไหลผ่านหน้าผาชั้นนี้จะพุ่งลงสู่หน้าผาชั้นที่ 2 และ 3 ที่อยู่ถัดลงไปใกล้ ๆ กันในลักษณะชันดิ่ง 90 องศา รวมความสูงไม่ต่ำกว่า 150 เมตร ในฤดูฝนสายน้ำที่ไหลทะลักไปสู่หุบเหวเบื้องล่างจะแรงมากจนน่ากลัวและเมื่อ กระทบหินเบื้องล่างจะแตกกระเซ็นสร้างความชุ่มชื้นไปทั่วบริเวณ บริเวณน้ำตกเหวนรกเป็นเขตหากินของช้างป่า ซึ่งช้างมักจะไม่เปลี่ยนเส้นทางหากิน จึงมักเกิดเหตุโศกนาฎกรรมช้างพลัดตกเหวอยู่เนือง ๆ
น้ำตกไม้ปล้อง เป็นน้ำตกที่พบมานานแต่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ มีทั้งหมด 5 ชั้น ลดหลั่นกันลงมา ชั้นสูงสุดไม่เกิน 12 เมตร มีลักษณะคล้ายคลึงกับน้ำตกเหวนรก หรือน้ำตกเหวสุวัต ตลอดเส้นทางเดินเท้าเรียงรายด้วยโขดหินเล็กใหญ่และลำธารที่สวยงาม การเดินทางไปน้ำตกนี้เริ่มต้นที่วังตะไคร้ จังหวัดนครนายกโดยต้องเดินเท้าระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร ติดต่อเจ้าหน้าที่นำทางได้ที่หน่วยพิทักษ์ฯ ขญ.9 (นางรอง)

ค่าธรรมเนียมเข้าชมอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ คนไทย ผู้ใหญ่ 40 บาท เด็ก 20 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 400 บาท เด็ก 200 บาท

ที่พักและสิ่งอำนวยความสะดวก บริเวณผากล้วยไม้จัดเป็นสถานที่ตั้งเต็นท์พักแรม ซึ่งรับนักท่องเที่ยวได้กว่า 1,000 คน มีร้านค้าสวัสดิการขายอาหาร และมีเต็นท์และเครื่องนอนให้เช่า นอกจากนั้นยังมีค่ายพักบริการอีก 2 แห่งคือ ค่ายพักกองแก้ว และค่ายพักเยาวชน ซึ่งรับนักท่องเที่ยวได้ รวม 250 คน ติดต่อขออนุญาตที่ที่ทำการฯก่อนเวลา 18.00 น. สอบถามรายละเอียดที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โทร. 0 2562 0760 หรือที่ทำการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ปณ.9 อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130 หรือ www.dnp.go.th

การเดินทาง อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 205 กิโลเมตร สามารถไปได้ 2 เส้นทางคือ แยกจากถนนมิตรภาพตรง กิโลเมตรที่ 56 ไปตามถนนธนะรัชต์ประมาณ 23 กิโลเมตร อีกเส้นทางหนึ่งคือ จากกรุงเทพฯ-แยกหินกอง แล้วไปตามทางหลวงหมายเลข 33 (นครนายก-ปราจีนบุรี) ถึงสี่แยกเนินหอมใช้ทางหลวง 3077 ไปถึงเขาใหญ่ เส้นทางที่สองค่อนข้างชันเหมาะที่จะใช้เป็นทางลงมากกว่า หากโดยสารรถประจำทางจากกรุงเทพฯ ให้ลงที่อำเภอปากช่องแล้วต่อรถสองแถวขึ้นเขาใหญ่ บริเวณหน้าตลาดปากช่องรถจะไปถึงตรงแค่ด่านเก็บเงิน ค่ารถ 15 บาท มีบริการระหว่างเวลา 6.00-17.00 น. จากนั้นต้องโบกรถขึ้นไปยังที่ทำการฯ หรือจะเช่ารถจากปากช่องเลยก็ได้

หมายเหตุ
1. ปัจจุบันอุทยานฯ มีประกาศ การจำกัดขนาดยานพาหนะและเวลาในการเข้าไปในอุทยานฯ เช่น ห้ามรถยนต์ขนาดมากกว่า 40 ที่นั่งทุกชนิด ขึ้นและลงเส้นทางระหว่างด่านศาลเจ้าพ่อปากช่อง ถึงที่ทำการอุทยานฯ และระหว่างด่านเนินหอม ถึงที่ทำการอุทยานฯ ระหว่างเวลา 16.00 น.-06.00 น. และห้ามรถยนต์ขนาดมากกว่า 40 ทีนั่ง ที่เป็นสองชั้นหรือมีความสูงมากกว่า 3.50 เมตร และกรณีรถปรับอากาศต้องมีจำนวนแรงม้าไม่น้อยกว่า 280 แรงม้า และกรณีรถไม่ปรับอากาศ มีจำนวนแรงม้าไม่น้อยกว่า 250 แรงม้า

2. ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้ออกประกาศกำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเข้าไปท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ ดังนั้น ก่อนการเข้าไปท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติ นักท่องเที่ยวควรตรวจสอบข้อมูลก่อนเดินทางที่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ โทร. 08 1877 3127 และ 08 6092 6531 ตลอด 24 ชั่วโมง

 

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

อุทยาน ประวัติศาสตร์พิมายตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย ประกอบด้วยโบราณสถานสมัยขอมที่ใหญ่โตและงดงามอลังการนั่นคือ “ปราสาทหินพิมาย” แหล่งโบราณคดีที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ บนพื้นที่ 115 ไร่ วางแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 565 เมตร ยาว 1,030 เมตรชื่อ “พิมาย” น่าจะมาจากคำว่า “วิมาย” หรือ “วิมายปุระ” ที่ปรากฏในจารึกภาษาเขมรบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท หินพิมาย และยังปรากฏชื่อในจารึกอื่นอีกหลายแห่ง อาจจะเป็นคำที่ใช้เรียกรูปเคารพหรือศาสนาสถาน
สิ่งที่เป็นลักษณะพิเศษของปราสาทหินพิมาย คือ ปราสาทหินแห่งนี้สร้างหันหน้าไปทางทิศใต้ต่างจากปราสาทหินอื่นที่มักหันหน้า ไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับกับเส้นทางที่ตัดมาจากเมืองยโศธรปุระเมืองหลวง ของอาณาจักรเขมรซึ่งเข้าสู่เมืองพิมายทางด้านทิศใต้
จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะการก่อสร้าง บ่งบอกว่าปราสาทหินพิมายคงจะเริ่มสร้างขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 16 ในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 รูปแบบทางศิลปกรรมของตัวปราสาทเป็นแบบปาปวนซึ่งเป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในสมัย นั้น โดยมีลักษณะของศิลปะแบบนครวัดซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยต่อมาปนอยู่บ้าง และมาต่อเติมอีกครั้งในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งครั้งนั้นเมืองพิมายเป็นเมืองซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอาณาจักรเขมร ปราสาทหินแห่งนี้สร้างเป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาลัทธิมหายานมาโดยตลอด เนื่องจากพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงนับถือพุทธศาสนาลัทธิมหายาน

ปราสาทหินพิมายมีสิ่งก่อสร้างที่น่าสนใจดังนี้

สะพานนาคราช เมื่อเข้าไปเยี่ยมชมปราสาทหินพิมายจะผ่านส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเห็นสะพานนาคราชและประติมากรรมรูปสิงห์ ตั้งอยู่ด้านหน้าของซุ้มประตูด้านทิศใต้ของปรางค์ประธานซึ่งเป็นส่วนหน้าของ ปราสาท ทั้งนี้อาจมีจุดมุ่งหมายในการสร้างให้เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงการเชื่อมต่อ ระหว่างโลกมนุษย์กับโลกสวรรค์ ตามคติความเชื่อในเรื่องจักรวาลทั้งในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ มีลักษณะเป็นรูปกากบาท ยกพื้นขึ้นสูงจากพื้นดินประมาณ 2.50 เมตร ราวสะพานโดยรอบทำเป็นลำตัวพญานาค ชูคอแผ่พังพานเป็นนาคเจ็ดเศียร มีลำตัวติดกันเป็นแผ่น หันหน้าออกไปยังเชิงบันไดทั้งสี่ทิศ
ซุ้มประตูและกำแพงชั้นนอกของปราสาท ถัดจากสะพานนาคราชเข้ามาเป็นซุ้มประตูหรือที่เรียกว่า โคปุระ ของกำแพงปราสาทด้านทิศใต้ ก่อด้วยหินทราย มีผังเป็นรูปกากบาทและมีซุ้มประตูลักษณะเดียวกันนี้อีก 3 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก โดยมีแนวกำแพงสร้างเชื่อมต่อระหว่างกันเป็นผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยาวจากเหนือถึงใต้ 277.50 เมตร และกว้างจากตะวันออกไปตะวันตก 220 เมตร ซุ้มประตูด้านทิศตะวันตกมีทับหลังชิ้นหนึ่งสลักเป็นรูปขบวนแห่พระพุทธรูป นาคปรกที่ประดิษฐานอยู่เหนือคานหาม
ซุ้มประตูและกำแพงชั้นใน (ระเบียงคด) เมื่อผ่านจากซุ้มประตูและกำแพงชั้นนอกไปแล้ว ก็จะถึงซุ้มประตูและกำแพงชั้นใน ซึ่งล้อมรอบปรางค์ประธาน กำแพงชั้นในของปราสาทแตกต่างจากกำแพงชั้นนอก คือ ก่อเป็นห้องยาวต่อเนื่องกันคล้ายเป็นทางเดินมีหลังคาคลุม อันเป็นลักษณะที่เรียกว่า ระเบียงคด มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวจากเหนือถึงใต้ 80 เมตร และความกว้างจากตะวันออกถึงตะวันตก 72 เมตร มีทางเดินกว้าง 2.35 เมตร เดินทะลุกันได้ตลอดทั้งสี่ด้าน หลังคามุงด้วยแผ่นหิน การบูรณะระเบียงคดเมื่อปีพ.ศ 2532 ได้พบแผ่นทองดุนลายรูปดอกบัว 8 กลีบ บรรจุไว้ในช่องบนพื้นหินของซุ้มประตูระเบียงคดเกือบจะทุกด้าน แผ่นทองเหล่านี้คงไว้เพื่อความเป็นสิริมงคลเหมือนที่พบในปราสาทอื่นอีกหลาย แห่ง
ปรางค์ประธาน ตั้งอยู่กลางลานภายในระเบียงคด เป็นศูนย์กลางของศาสนสถานแห่งนี้ ปรางค์ประธานสร้างด้วยหินทรายสีขาวทั้งองค์ ต่างจากซุ้มประตู(โคปุระ)และกำแพงชั้นในและชั้นนอกที่สร้างด้วยหินทรายสีแดง เป็นหลัก มีหินทรายสีขาวเป็นส่วนประกอบบางส่วน เนื่องจากหินทรายสีขาวมีคุณสมบัติคงทนดีกว่าหินทรายสีแดง องค์ปรางค์สูง 28 เมตร ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมไม้สิบสองยาวด้านละ 22 เมตร ด้านหน้ามีมณฑปเชื่อมต่อกับองค์ปรางค์โดยมีฉนวนกั้น องค์ปรางค์และมณฑปตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ส่วนด้านอื่น ๆ อีกสามด้านมีมุขยื่นออกไปมีบันไดและประตูขึ้นลงสู่องค์ปรางค์ทั้งสี่ด้าน
ปรางค์พรหมทัต ตั้งอยู่ด้านหน้าปรางค์ประธานเยื้องไปทางซ้ายสร้างด้วยศิลาแลง มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อมุม กว้าง 14.50 สูงประมาณ 15 เมตร สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ภายในปรางค์พบประติมากรรมหินทรายจำหลักเป็นรูปประติมากรรมฉลององค์ของพระ เจ้าชัยวรมันที่7 (จำลอง) ที่เรียกว่า ปรางค์พรหมทัต ก็เพื่อให้เข้ากับตำนานพื้นเมืองเรื่องท้าวพรหมทัตพระเจ้าแผ่นดิน ปัจจุบันกรมศิลปากรได้เก็บรักษาองค์จริงไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย
ปรางค์หินแดง ตั้งอยู่ทางด้านขวา สร้างด้วยหินทรายสีแดง กว้าง 11.40 เมตร สูง 15 เมตร มีมุขยื่นออกไปเป็นทางเข้าทั้ง 4 ทิศ เหนือกรอบประตูทางเข้าด้านทิศเหนือมีทับหลังสลักเป็นภาพเล่าเรื่องในมหา กาพย์ภารตะตอนกรรณะล่าหมูป่า ออกจากระเบียงคด (กำแพงชั้นใน) มาบริเวณลานชั้นนอกทางด้านทิศตะวันตก ล้อมรอบด้วยกำแพงชั้นนอกอีกชั้นหนึ่ง ประกอบด้วยอาคารที่เรียกว่า บรรณาลัย มีสองหลังตั้งอยู่คู่กันและมีสระน้ำอยู่ทั้งสี่มุม
อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 07.30-18.00 น. ค่าเข้าชม ชาวไทยคนละ 10 บาท ชาวต่างประเทศคนละ 40 บาท มีบริการยุวมัคคุเทศก์ซึ่งเป็นนักเรียนจากโรงเรียนพิมายวิทยานำชมสถานที่ ฟรี สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. 0 4447 1568
โบราณสถานนอกกำแพงปราสาทหินพิมาย มีสิ่งที่น่าสนใจดังนี้

ประตูเมืองและกำแพงเมืองพิมาย สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 บรรดาประตูเมืองทั้ง 4 ทิศ ประตูชัยด้านทิศใต้นับเป็นประตูเมืองที่สำคัญที่สุด เพราะรับกับถนนโบราณที่ตัดผ่านมาจากเมืองพระนครเข้าสู่ตัวปราสาทพิมาย หากหยุดยืนที่ช่องประตูเมืองด้านทิศใต้ จะมองเห็นปราสาทหินพิมายผ่านช่องประตูเมืองพอดี ลักษณะประตูเมืองมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีทางผ่านตลอดกลางประตู ส่วนของหลังคาได้หักพังไปหมดแล้ว
เมรุพรหมทัต อยู่นอกกำแพงปราสาทด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นซากโบราณสถานก่อด้วยอิฐ ปัจจุบันเป็นมูลดินทับถมจนเป็นรูปกลมสูงประมาณ 30 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 59 เมตร ที่เรียกว่าเมรุพรหมทัตเพราะเชื่อว่าเป็นที่ถวายเพลิงพระศพท้าวพรหมทัตตาม ตำนานนั่นเอง แต่จากลักษณะการก่อสร้างเข้าใจว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานทางด้านทิศใต้ได้แก่ ท่านางสระผม กุฏิฤาษี และอโรคยาศาล

ศูนย์สารสนเทศลิปตพัลลภ ที่พักริมทางลำตะคอง หรือ “สวนน้าชาติ”

เป็น ศูนย์บริการข้อมูลการเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็นจุดพักรถเพื่อเปลี่ยนอิริยาบถและผ่อนคลาย ความตึงเครียดจากการเดินทางตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข 2 ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 193-194 (เส้นทางสายสระบุรี-นครราชสีมา) บนเนื้อที่ 37 ไร่ เป็นสถานที่ที่มีทัศนียภาพสวยงามเหนืออ่างเก็บน้ำลำตะคองสมบูรณ์ด้วยบริการ และสิ่งอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว เป็นแบบอย่างที่พักริมทางที่ทันสมัย ครบวงจรแห่งแรกภายในบริเวณนี้ นอกจากที่พักชมทิวทัศน์ สวนหย่อม ร้านขายเครื่องดื่มและของใช้จำเป็น ห้องน้ำ โทรศัพท์สาธารณะแล้วยังมีรูปสลักพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตนายกรัฐมนตรี ในลักษณะท่ากอดอก ยืนพิงมอเตอร์ไซค์คู่ใจ สูง 3.40 เมตร แกะสลักจากหินทรายสีเขียวซึ่งเป็นหินชั้นดีที่สุดและมีมากที่สุดในจังหวัด นครราชสีมา


อนุสาวรีย์ท้าวสุรนาร

เป็น อนุสรณ์แด่วีรกรรมอันกล้าหาญของวีรสตรีไทย หรือย่าโม ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกกันติดปากโดยทั่วไป สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2476 ตั้งอยู่กลางเมือง ชาวต่างถิ่นที่แวะมาเยือนและชาวเมืองโคราชนิยมมาสักการะและขอพรจากย่าโมอยู่ เสมอ อนุสาวรีย์หล่อด้วยทองแดงรมดำ สูง 1.85 เมตร หนัก 325 กิโลกรัม แต่งกายด้วยเครื่องยศพระราชทาน ในท่ายืน มือขวากุมดาบ ปลายดาบจรดพื้น มือซ้ายท้าวสะเอว หันหน้าไปทางทิศตะวันตกซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนฐานไพทีสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองซึ่งบรรจุอัฐิของท่านท้าวสุ รนารีมีนามเดิมว่า คุณหญิงโม เป็นภรรยาปลัดเมืองนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ได้ยกทัพเข้ายึดเมืองโคราช คุณหญิงโมได้รวบรวมชาวบ้านเข้าสู้รบและต่อต้านกองทัพของเจ้าอนุวงศ์แห่ง เวียงจันทน์ไม่ให้ยกมาตีกรุงเทพฯได้เป็นผลสำเร็จ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาคุณหญิงโมเป็นท้าวสุรนารี ประชาชนพร้อมใจกันจัดงานเฉลิมฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารีขึ้นระหว่าง วันที่ 23 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน เป็นประจำทุกปีเพื่อเป็นการระลึกถึงคุณความดีของท่าน


ปรางค์กู่

ตั้ง อยู่ในโรงเรียนวัดบ้านกู่ ตำบลดอนตะหนิน จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ไปประมาณ 74 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายตรงตู้ยามตำรวจทางหลวงบ้านโนนตาเถรไปอีกประมาณ 6 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาเข้าไปทางโรงเรียนวัดบ้านกู่ ลักษณะเป็นปรางค์สมัยขอมขนาดเล็ก ฐานสี่เหลี่ยม ก่อด้วยศิลาแลงวางซ้อนกันจากฐานถึงยอด แต่ปัจจุบันสภาพปรักหักพังไปแล้ว หลงเหลือเพียงซากฐานไม่สูงนัก ภายในองค์ปรางค์มีพระพุทธรูปดินเผาซึ่งยังหลงเหลือให้เห็นอยู่ 4-5 องค์

หาดชมตะวัน

อยู่ ในความรับผิดชอบของที่ทำการเขตจัดการอุทยานแห่งชาติทับลานที่ 4 (ลำปลายมาศ) ซึ่งดูแลรักษาพื้นที่ป่าในอุทยานแห่งชาติทับลานด้านอำเภอเสิงสาง อำเภอครบุรี และอำเภอวังน้ำเขียว พื้นที่ริมอ่างเก็บน้ำได้รับการพัฒนาให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจสำหรับประชาชน และเป็นที่ประกอบอาชีพของชาวบ้านลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า นักท่องเที่ยวนิยมมาเล่นน้ำและรับประทานอาหาร รวมทั้งยังชมทิวทัศน์อันสวยงาม หรือพักแค้ม ปิ้งได้ อาจเช่าเรือหางยาวล่องไปตามลำน้ำ เดินป่าชมแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เช่น วังผีเสื้อ (มีเฉพาะในฤดูหนาว) ถ้ำพระ ถ้ำคอมมิวนิสต์ ที่มีตัวอักษรเขียนที่ผนังถ้ำว่า “พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย” และ ต้นตะเคียนทองยักษ์ ซึ่งสันนิษฐานว่ามีอายุประมาณพันปี ติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 0 4444 8386
การเดินทาง จากนครราชสีมาไปอำเภอเสิงสาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 224 ต่อด้วยทางหลวง 2071 และ 2119 ตามลำดับ ระยะทาง 89 กิโลเมตร เมื่อถึงสี่แยกอำเภอเสิงสางเลี้ยวขวาไปตามทางหลวง 2317 อีกประมาณ 15 กิโลเมตร


ปรางค์สีดา

ตั้ง อยู่ในบริเวณวัดพระปรางค์สีดา ตำบลสีดา จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ไปประมาณ 84 กิโลเมตร ถึงบริเวณสี่แยกสีดาเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 202 (ไปทางอำเภอประทาย) ประมาณ 1.5 กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายเข้าวัดอีกราว 2 กิโลเมตร ปรางค์สีดามีลักษณะคล้ายปรางค์กู่ที่ตำบลดอนตะหนิน แต่ปรางค์สีดาปิดทึบทั้งสี่ด้าน เป็นโบราณสถานในศาสนาพราหมณ์ ศิลปะแบบเขมรโบราณ ก่อด้วยศิลาแลงจำนวน 1 หลัง มีลวดลายปูนปั้นประดับหันหน้าไปทางทิศตะวันออกล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17–18

ฟาร์มโชคชัย

ตั้ง อยู่บนถนนมิตรภาพ-ปากช่อง กิโลเมตรที่ 159 เป็นฟาร์มโคนมที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในฟาร์มที่ใหญ่ที่สุดในทวีป เอเชีย เปิดกิจการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายในฟาร์มท่านจะได้เรียนรู้นับแต่การผลิต น้ำนมดิบ การเลี้ยงโคนม การรีดนม และกิจกรรมสนุกสนานที่โรงคาวบอย ชมสวนสัตว์เปิด เพลิดเพลินกับการให้อาหารสัตว์และป้อนนมลูกโค นอกจากนี้ยังมีบูติกแคมป์ เต็นท์ติดแอร์ที่เจาะกลุ่มผู้ที่ต้องการพักผ่อนแบบเน้นสร้างสมาธิ กลับสู่วิถีธรรมชาติ สร้างความแตกต่างจากรีสอร์ทอื่นๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 2998 9381-5 ต่อ 150-157 www.farmchokchai.com

ทองสมบูรณ์คลับ

ตั้งอยู่ที่เลขที่ 119 หมู่ 10 ถนนปากช่อง-หัวลำ ตำบลปากช่อง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงผจญภัยที่เหมาะกับครอบ ครัวและผู้ที่ชอบความตื่นเต้นท้าทาย นักท่องเที่ยวจะได้สนุกสนานกับการขี่ม้าสไตล์ตะวันตก และเครื่องเล่นชนิดต่างๆ เช่น รอกลอยฟ้า (Flying Fox) กิจกรรมโรยตัว (Abseiling) ขับรถชมวิว รถเอทีวี (ATV) โกคาร์ท (Go-cart) คาร์ทครอส (Cart-cross) ลูจ (Luge) และกระเช้าลอยฟ้า (Ski Lift) เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.00 น.-18.00 น.นอกจากนี้ยังมีล่องแก่งไม้ซุง และที่พักให้บริการแก่นักท่องเที่ยว สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. 0 4431 2248 .0 4431 2316,0 4424 9694, 0 9967 7550 www.thongsomboon-club.com อีเมล์ contact@thongsomboon-club.com


ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ (ไร่สุวรรณ)

อยู่ ในเขตตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง ตั้งอยู่บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 155 ริมถนนมิตรภาพ ศูนย์วิจัยแห่งนี้แต่เดิม คือ “ธนะฟาร์ม” ซึ่งเป็นของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2508 ได้มอบให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยฯ นี้ รับผิดชอบงานวิจัย งานฝึกอบรมและเผยแพร่วิชาการเทคโนโลยีการเกษตร
ผลิตผลข้าวโพดหวานของที่นี่จะทยอยปลูกในแปลงทั้งปี และมีจำหน่ายให้ผู้ที่ผ่านไปมาบริเวณด้านหน้าฟาร์ม นอกจากนั้นยังปลูกข้าวโพดไร่เพื่อไปผลิตอาหารสัตว์ มีแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์งา และถั่วเหลือง ทิวทัศน์ในไร่สวยงามมากเป็นบรรยากาศของทุ่งข้าวโพดอยู่กลางหุบเขาและเคยใช้ เป็นฉากถ่ายละครหลายเรื่อง

ปัจจุบันมีการจัดกิจกรรมทางด้านทัวร์เกษตรสำหรับหมู่คณะที่สนใจศึกษา เทคโนโลยีการเกษตร เช่น กระบวนการผลิต การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวาน ฯลฯ และกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เดินป่า ไร่สุวรรณมีพื้นที่ประมาณ 3,000 ไร่ โดยมีแนวเขากั้นเป็นแนวแบ่งระหว่างด้านหน้าและด้านหลังเขา ซึ่งภูเขายังคงสภาพป่าที่สมบูรณ์ มีสัตว์อาศัยอยู่หลายชนิด เช่น ลิง ไก่ป่า นก กระรอก ฯลฯ การเข้าชมเป็นหมู่คณะและต้องการวิทยากรบรรยายให้ความรู้ควรติดต่อล่วงหน้า สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมในวันและเวลาราชการ โทร. 0 4436 1770-4 โทรสาร 0 4436 1108

วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม

ตั้ง อยู่บริเวณเขาสีเสียดอ้า ตำบลกลางดง แยกจากทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-สระบุรี) หลักกิโลเมตรที่ 150 ไปตามถนนลาดยางอีก 3 กิโลเมตร เป็นวัดที่ประดิษฐาน “พระพุทธสกลสีมามงคล” เป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ชาวบ้านทั่วไปมักเรียกว่า “หลวงพ่อขาว” หรือ “หลวงพ่อใหญ่” เป็นพระพุทธรูปในพระอิริยาบทนั่งปางประทานพรสีขาวขนาดใหญ่ ขนาดหน้าตักกวัาง 27 เมตร สูง 45 เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก โดดเด่นอยู่บนยอดเขาสูงจากระดับพื้นดิน 112 เมตรหรือ 56 วา หมายถึง พระพุทธคุณ 56 ประการ ส่วนความสูงขององค์พระ 45 เมตร หมายถึง พระพุทธองค์โปรดเวไนยสัตว์อยู่ 45 พรรษา หรือเรียกว่าทรงทำพุทธกิจอยู่ 45 พรรษา หลังจากที่ตรัสรู้แล้วทางขึ้นไปนมัสการองค์พระเป็นบันไดแยกออกสองข้าง เป็นรูปโค้งเว้าเหมือนขอบใบโพธิ์ นับรวมทั้งด้านซ้ายและขวาทั้งหมด 1,250 ขั้นซึ่งหมายถึง จำนวนพระอรหันต์ที่ไปชุมนุมกัน โดยมิได้นัดหมายในวันมาฆบูชา


ล่องแก่งลำตะคอง

ล่อง แก่งลำตะคอง ตลอดลำน้ำจะผ่านบ้านเรือน เรือกสวน และป่าไม้เขียวขจี มีความยากในการล่องแก่งที่ระดับ 1-2 ซึ่งไม่ยากเกินไปนัก เหมาะสำหรับมือใหม่ที่เพิ่งจะลองกิจกรรมประเภทนี้และยังเหมาะแก่การมาท่อง เที่ยวกันเป็นครอบครัว เวลาที่เหมาะสมคือ ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กันยายน เนื่องจากมีน้ำมาก ความแรงของกระแสน้ำพอที่จะทำให้เกิดความตื่นเต้นแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย ส่วนในฤดูแล้งน้ำจะน้อยเกินไป การล่องแก่งใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 45 นาที และอาจเพิ่มรสชาติการผจญภัยด้วยการนั่งช้างชมป่าหลังจากล่องแก่งก็ได้ หากสนใจกิจกรรมนี้ติดต่อได้ที่ ปางช้างเขาใหญ่ (บ้านป่าเขาใหญ่) ถ.ธนะรัชต์ กิโลเมตรที่ 19.5 โทร. 0 4429 7183

วัดบ้านไร่

วัด บ้านไร่ ตั้งอยู่ที่ตำบลกุดพิมาน จากตัวเมืองเดินทางตามถนนมิตรภาพ ถึงกิโลเมตรที่ 237 แยกขวาผ่านอำเภอขามทะเลสอและบ้านหนองสรวงไปจนถึงอำเภอด่านขุนทด ระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร จากโรงพยาบาลด่านขุนทดใช้ทางหลวงหมายเลข 2217 เป็นระยะทางอีกประมาณ 11 กิโลเมตร วัดบ้านไร่เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดเป็นสถานที่จำพรรษาของ หลวงพ่อคูณ ปริสทฺโธ เกจิอาจารย์ชื่อดัง ในแต่ละวันมีผู้คนจากทุกสารทิศเดินทางมานมัสการหลวงพ่อคูณกันเป็นจำนวนมาก

ไทรงาม

ไทร งาม ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล บริเวณเขื่อนพิมาย โดยก่อนข้ามสะพานท่าสงกรานต์เข้าตัวอำเภอพิมาย จะมีทางแยกไปเขื่อนพิมายอีกประมาณ 2 กิโลเมตร บรรยากาศไทรงามแห่งนี้มีต้นไทรขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ไทรเหล่านี้เกิดจากต้นแม่อายุประมาณ 350 ปี แผ่กิ่งก้านสาขาออกรากซึ่งเจริญเติบโตเป็นลำต้นใหม่มากมายครอบคลุมพื้นที่ กว้างขวาง ประมาณ 15,000 ตารางฟุต สถานที่นี้มีชื่อเสียงรู้จักกันมานานตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม ราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสเมืองพิมายเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2454 และได้พระราชทานนามว่า “ไทรงาม” ในบริเวณใกล้เคียงมีร้านขายของที่ระลึกและร้านอาหารหลายร้าน อาหารที่นักท่องเที่ยวนิยมมารับประทานกันมากคือ ผัดหมี่พิมาย (ผัดหมี่โคราช) ที่เส้นเหนียวนุ่มน่ากินไม่แพ้ก๋วยเตี๋ยวเส้นจันท์

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย

พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ พิมายตั้งอยู่ในตัวอำเภอพิมาย บริเวณเชิงสะพานท่าสงกรานต์ ก่อนถึงปราสาทหินพิมายเล็กน้อย จากตัวเมืองนครราชสีมาเดินทางมาตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ระยะทาง 50 กิโลเมตรถึงทางแยกตลาดแคเลี้ยวขวาไปตามทางหลวง 206 อีก 10 กิโลเมตร หากใช้บริการรถโดยสารสามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งแห่งที่ 2 ในตัวเมืองนครราชสีมาพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นสถานที่รวบรวมหลักฐานทางโบราณคดี และจัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรืองของวัฒนธรรมอีสานในอดีต โดยเฉพาะโบราณวัตถุศิลปวัตถุที่ค้นพบในเขตอีสานตอนล่าง แบ่งการจัดแสดงออกเป็น 3ส่วน
ส่วนที่ 1 อาคารจัดแสดงชั้นบน จัดแสดงเรื่องพัฒนาการของสังคมในดินแดนอีสานตอนล่าง แสดงถึงรากฐานการกำเนิด อารยธรรมซึ่งมีมาจากความเชื่อต่าง ๆ ตลอดจนอิทธิพลวัฒนธรรมภายนอกที่เข้ามามีบทบาทตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน
ส่วนที่ 2 อาคารชั้นล่าง จัดแสดงโบราณวัตถุศิลปะเขมรในอีสานตอนล่าง
ส่วนที่ 3 อาคารโถง จัดแสดงโบราณวัตถุซึ่งเป็นส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทราย เช่น ทับหลัง เสาประดับกรอบประตู กลีบขนุน บัวยอดปราสาท และปราสาทจำลอง นอกจากนี้บริเวณรอบอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย ยังได้จัดแสดงใบเสมาและทับหลังที่สวยงามอีกด้วย
พิพิธภัณฑ์แห่งนี้เปิดให้เข้าชม วันพุธ-วันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 4447 1167


วัดเขาจันทน์งาม

วัด เขาจันทน์งาม ตั้งอยู่ที่บ้านเลิศสวัสดิ์ จากตัวเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-สระบุรี) ประมาณ 50 กิโลเมตร บริเวณกิโลเมตรที่ 200-201 มีทางแยกซ้ายเข้าไปประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นแหล่งศิลปะภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ ซี่งอยู่บริเวณด้านหลังวัด โดยเดินเท้าผ่านสวนหินและป่าธรรมชาติอันร่มรื่นและเงียบสงบเข้าไปประมาณ 150 เมตร จะพบภาพเขียนลงสีแบบเงาทึบสีแดงเป็นแนวปรากฎอยู่บนเพิงผาหินทรายด้านหนึ่ง อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 4 เมตร เป็นรูปคนและสัตว์ที่แสดงถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่หรือกิจกรรมบางอย่างของ กลุ่มคน เช่น ลักษณะการแต่งกาย การดำรงชีวิต การล่าสัตว์ สันนิษฐานว่าเป็นศิลปะที่สร้างขึ้นโดยชุมชนเกษตรกรรมที่อาศัยอยู่ในบริเวณ นี้มีอายุระหว่าง 3,000 – 4,000 ปี

 

เขื่อนลำตะคอง

เขื่อน ลำตะคอง ตั้งอยู่ตำบลลาดบัวขาว ห่างจากตัวเมืองประมาณ 62 กิโลเมตร มีทางแยกจากทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-สระบุรี) บริเวณกิโลเมตรที่ 196-197 ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นเขื่อนดินสร้างกั้นลำตะคองที่ช่องเขาเขื่อนลั่นและช่องเขาถ่านเสียดในปี พ.ศ. 2517 เพื่อนำน้ำเหนือเขื่อนมาใช้ประโยชน์ในด้านชลประทาน นักท่องเที่ยวสามารถเดินเที่ยวบนสันเขื่อนเพื่อชมทิวทัศน์ของอ่างเก็บน้ำ ซึ่งมีฉากหลังเป็นภูเขาสวยงามเหมาะสำหรับพักผ่อนในยามแดดร่มลมตก เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 06.00 – 18.00 น.


แหล่งหินตัดสีคิ้ว

แหล่ง หินตัดสีคิ้ว ตั้งอยู่บนถนนมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2) ห่างจากตัวเมืองประมาณ 40 กิโลเมตร บริเวณกิโลเมตรที่ 206-207 ด้านซ้ายมือเป็นเนินเขาที่เต็มไปด้วยหินทรายสีขาว ปรากฎร่องรอยของการสกัดหินเป็นร่องลึกรูปสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ อยู่หลายแนวและยังทิ้งร่องรอยของคมสิ่วที่ใช้เป็นเครื่องมือในการสกัด สันนิษฐานว่าเดิมคงจะนำหินทรายบริเวณนี้ไปสร้างปราสาทหินที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง เช่น ปราสาทเมืองแขก


แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท

แหล่ง โบราณคดีบ้านปราสาทตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านปราสาทใต้ ตำบลธารปราสาท จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น ถึงกิโลเมตรที่ 44 มีทางแยกซ้ายเข้าไปอีก 1 กิโลเมตร หากเดินทางโดยรถประจำทางจากกรุงเทพฯหรือนครราชสีมา ให้นั่งรถสายที่จะไป ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย หรือ กาฬสินธุ์ ลงรถที่กม.44 แล้วต่อรถจักรยานยนต์รับจ้างจากปากทางเข้าหมู่บ้าน
บ้านปราสาทนับเป็นแหล่งโบราณคดีแห่งที่สองต่อจากบ้านเชียง ที่ได้จัดทำในลักษณะพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง จากหลักฐานที่ค้นพบสันนิษฐานว่า มีชุมชนอาศัยอยู่ในบริเวณนี้มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัย ประวัติศาสตร์ มีหลักฐานของกลุ่มวัฒนธรรมแบบทวารวดีและแบบเขมรโบราณ ช่วงระหว่าง 1,500-3,000 ปีมาแล้ว หลุมขุดค้นที่ตกแต่งและเปิดให้ชม มีทั้งหมด 3 แห่ง คือ
หลุมขุดค้นที่ 1 มีโครงกระดูกฝังอยู่ในชั้นดินแต่ละสมัย แต่ละยุคมีลักษณะการฝังที่ต่างกันไป ยุค 3,000 ปี อยู่ในชั้นดินระดับล่างสุดลึก 5.5 เมตร โครงกระดูกจะหันหัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ยุค 2,500 ปี หันหัวไปทางทิศตะวันออก ยุค 2,000 ปีหันหัวไปทางทิศใต้ แต่คติในการฝังจะคล้ายกันคือจะนำเครื่องประดับ เช่น กำไลเปลือกหอย ลูกปัด แหวนสำริด กำไลสำริด เครื่องประดับศีรษะทำด้วยสำริดและภาชนะของผู้ตายฝังร่วมไปด้วยกับผู้ตาย ในช่วงสามระยะแรกนี้เป็นภาชนะดินเผาเคลือบน้ำดินสีแดง แบบลายเชือกทาบ ลักษณะหลักของภาชนะเป็นแบบคอแคบปากบาน แต่บางใบมีทรงสูงเหมือนคนโท บางชิ้นมีลักษณะเป็นทรงกลมสั้น ต่อมาในยุค 1,500ปี นั้นลักษณะภาชนะจะเปลี่ยนเป็นแบบพิมายดำ คือ มีสีดำ ผิวขัดมัน เนื้อหยาบบาง
หลุมขุดค้นที่ 2 ในดินชั้นบนพบร่องรอยของศาสนสถานในพุทธศตวรรษที่ 13-16 เรียกกันว่า “กู่ธารปราสาท” และพบเศียรพระพุทธรูปในสมัยเดียวกัน ศิลปะทวารวดีแบบท้องถิ่น นอกจากนี้ยังพบรูปปั้นดินเผาผู้หญิงครึ่งตัวเอามือกุมท้องลักษณะคล้ายตั้ง ครรภ์ และชิ้นส่วนลายปูนปั้นประดับปราสาท
หลุมขุดค้นที่ 3 พบโครงกระดูกในชั้นดินที่ 5.5 เมตร เป็นผู้หญิงทั้งหมด เป็นที่น่าสังเกตว่ากระดูกทุกโครงในหลุมนี้ไม่มีศีรษะ และภาชนะนั้นถูกทุบให้แตกก่อนที่จะนำลงไปฝังด้วยกัน นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าเป็นโครงกระดูกของผู้หญิงที่ถูกประหารชีวิตและนำ ศีรษะไปแห่ประจาน และได้พบส่วนกะโหลกอยู่รวมกันในอีกที่หนึ่ง ซึ่งห่างจากจุดเดิมเพียง 500 เมตร ชาวบ้านปราสาทจะร่วมกันทำบุญอุทิศส่วนกุศลในวันที่ 21 เมษายน ของทุกปี


โบราณสถานเมืองเสมา

โบราณ สถานเมืองเสมา ตั้งอยู่ที่ตำบลเสมา ห่างจากนครราชสีมาประมาณ 37 กิโลเมตร จากตลาดอำเภอสูงเนิน เดินทางข้ามลำตะคอง และผ่านบ้านหินตั้งไปจนถึงเมืองเสมาเป็นระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร แผนผังเมืองเสมาเป็นรูปไข่กว้าง 3 กิโลเมตร ยาว 4 กิโลเมตร ปัจจุบันยังเห็นร่องรอยคูเมืองและกำแพงดินล้อมรอบเป็นบางส่วน เมืองนี้เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี ตั้งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 12 และมีพัฒนาการสืบเนื่องมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16-17 ภายใต้อิทธิพลของวัฒนธรรมขอมโบราณ บริเวณเมืองเสมามีซากโบราณสถานก่อด้วยศิลาแลงและหินทรายหลงเหลืออยู่ มีการขุดค้นพบโบราณวัตถุต่างๆ เป็นจำนวนมาก ที่ได้รับความสนใจมากที่สุดคือ พระนอนหินทรายและธรรมจักรเก่าแก่ซึ่งปัจจุบันอยู่ในบริเวณวัดธรรมจักรเสมา ราม

วัดหน้าพระธาตุ (วัดตะคุ)

วัด หน้าพระธาตุ (วัดตะคุ) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลตะคุ การเดินทางจากตัวเมืองนครราชสีมาใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 314 ประมาณ 30 กิโลเมตร (ผ่านสี่แยกปักธงชัย) มีทางแยกด้านขวามือเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 2238 ไปบ้านตะคุ ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างต่างๆ ได้แก่ เจดีย์ อุโบสถ และหอไตรกลางน้ำที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดี มีศิลปะแบบท้องถิ่นปะปนอยู่มาก อุโบสถหลังเก่ามีจิตรกรรมฝาผนังสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ปรากฎให้เห็นอยู่เกือบสมบูรณ์ทั้งบริเวณผนังด้านหน้าข้างนอกและผนังด้านใน ทั้งสี่ด้าน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทศชาติชาดก และเป็นภาพการสักการะพระพุทธบาท นอกจากนั้นยังแทรกภาพชีวิตประจำวันของชาวบ้านในสมัยนั้นด้วยเช่น การทำนา การหาปลา เป็นต้น ทางด้านหน้าอุโบสถหลังเก่า มีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่กลางสระมีหอไตร 1 หลัง ทรงเตี้ยแบบหอไตรพื้นเมืองอีสานซึ่งมีภาพลายรดน้ำที่บานประตูเป็นลวดลาย วิจิตรสวยงามมาก ระหว่างหอไตรและอุโบสถหลังเก่า ยังมีเจดีย์ศิลปะแบบลาวเก่าอีก 1 องค์ สร้างโดยชุมชนที่อพยพมาจากนครเวียงจันทน์

เขื่อนลำพระเพลิง

เขื่อน ลำพระเพลิง อยู่ในเขตอำเภอปักธงชัย ใช้เส้นทางสาย 314 ผ่านทางเข้าอำเภอปักธงชัยไปประมาณ 4 กิโลเมตร จะพบสี่แยกเลี้ยวขวามือเข้าไปเป็นระยะทาง 28 กิโลเมตร เป็นเขื่อนในความดูแลของกรมชลประทาน ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อน รับประทานอาหาร ตกปลาและชมทิวทัศน์ริมอ่างเก็บน้ำ มีบริการบ้านพักรับรองหลายหลัง ติดต่อโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำพระเพลิง โทร. 0 4437 3184 ต่อ 114 นักท่องเที่ยวสามารถเช่าเหมาเรือหางยาวไปชมบรรยากาศภายในอ่างเก็บน้ำ เที่ยวน้ำตกคลองกี่หรือน้ำตกขุนโจนได้ โดยใช้เวลาไป-กลับประมาณ 3-4 ชั่วโมง ติดต่อได้ที่สโมสรเขื่อนลำพระเพลิง โทร. 0 4437 3184 ต่อ 117

ปราสาทพะโค

ปราสาท พะโค ตั้งอยู่ที่ตำบลกระโทก จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 224 (นครราชสีมา-โชคชัย) ระยะทาง 29 กิโลเมตร ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 2071 อีกประมาณ 3 กิโลเมตร อยู่ริมถนนทางด้านขวามือ เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ก่อสร้างด้วยหินทรายสีขาว ประกอบด้วยกลุ่มโบราณสถาน 3 หลัง แต่ปัจจุบันเหลือให้เห็นเพียง 2 หลัง มีคูน้ำล้อมรอบเป็นรูปเกือกม้า ทางเข้าอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ได้พบชิ้นส่วนหน้าบันที่แสดงถึงอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรแบบบาปวนในราวพุทธศตวรรษ ที่ 16 ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย


สวนมะนาวด่านเกวียน

สวน มะนาวด่านเกวียน ตั้งอยู่เลขที่ 135 หมู่ 3 ตำบลด่านเกวียน อำเภอโชคชัย การเดินทางจากจังหวัดนครราชสีมาใช้ทางหลวงหมายเลข 224 (นครราชสีมา-โชคชัย) ระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร (ก่อนถึงชุมชนเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน) แยกขวาทางเข้าวัดป่าหิมพานต์ อีกประมาณ 1 กิโลเมตร
สวนแห่งนี้มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ ปลูกมะนาวพันธุ์ด่านเกวียนซึ่งเป็นพันธุ์ที่ได้รับการตั้งชื่อตามแหล่งที่พบ มีลักษณะเฉพาะตัว คือ ทนทานต่อความแห้งแล้ง ผลใหญ่ มีน้ำมากทุกขนาดผล กลิ่นเปลือกไม่ฉุนจัด รสชาติกลมกล่อม แต่ละต้นมีผลดกมาก บางต้นมีมากถึง 5,000 ผล ถ้าปล่อยให้ผลเติบโตต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่แย่งอาหารกัน ผลก็จะเจริญเติบโตขึ้นจนคล้ายส้มเกลี้ยง ส้มซ่า แต่มีความเปรี้ยวตามแบบของมะนาวทุกอย่าง

สวนมะนาวด่านเกวียนเปิดให้ชมทุกวัน มีผลผลิตและกิ่งพันธุ์จำหน่าย หากต้องการจัดทัศนศึกษาชมงานสวนมะนาวด่านเกวียน สามารถติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นายณรงค์ รัตนจันทร์ โทร.0 4421 2696 หรือ โทร. 0 1976 7768

หมู่บ้านทำเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน

หมู่ บ้านทำเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน อยู่ห่างจากตัวเมือง 15 กิโลเมตร ตามทางหลวงสาย 224 (นครราชสีมา-โชคชัย) ในสมัยโบราณตำบลนี้เป็นที่พักกองเกวียนที่ค้าขายระหว่างโคราช-เขมร มีแม่น้ำมูลไหลผ่าน ชาวบ้านใช้ดินริมฝั่งแม่น้ำมาปั้นภาชนะใช้สอย และได้ทำสืบต่อกันมานับเป็นเวลาหลายชั่วอายุคน ปัจจุบันด่านเกวียนมีชื่อเสียงมากในฐานะที่เป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผา ได้สวยงาม มีรูปแบบที่แปลกและหลากหลาย แต่ยังคงลักษณะดั้งเดิมของกรรมวิธีในการปั้นและใช้ดินดำสัมฤทธิ์ที่มี เอกลักษณ์ของสีแบบดินเผาด่านเกวียนโดยเฉพาะ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีรวงศ์

พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ มหาวีรวงศ์ตั้งอยู่ในบริเวณวัดสุทธจินดา ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด จัดแสดงศิลปวัตถุทั้งที่สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดารวบรวมไว้ โบราณวัตถุที่กรมศิลปากรได้สำรวจขุดพบในเขตจังหวัดนครราชสีมา ตลอดจนจังหวัดใกล้เคียงและที่มีผู้บริจาค ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูป มีทั้งพระศิลาสมัยขอม พระพุทธรูปสมัยอยุธยา พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ เครื่องเคลือบดินเผา เครื่องใช้สมัยโบราณ ภาพไม้แกะสลัก เปิดให้เข้าชมระหว่างเวลา 09.00-16.00 น. ในวันพุธถึงวันอาทิตย์ ปิดวันจันทร์ วันอังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ์ อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย 5 บาท ชาวต่างประเทศ 10 บาท ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร.0 4424 2958 หรือ www.thailandmuseum.com

ปราสาทพนมวัน

ปราสาท พนมวัน ตั้งอยู่ที่บ้านมะค่า ตำบลโพธิ์ จากตัวเมืองไปตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ประมาณ 15 กิโลเมตร จะมีป้ายบอกทางด้านขวามือ แยกเข้าไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นปราสาทขอมที่น่าชมอีกแห่งหนึ่ง สันนิษฐานว่าเดิมก่อสร้างด้วยอิฐในราวพุทธศตวรรษที่ 15 ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 18–19 จึงได้สร้างอาคารหินซ้อนทับลงไป จากจารึกที่ค้นพบ เรียกปราสาทแห่งนี้ว่า “เทวาศรม” เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ต่อมาจึงได้เปลี่ยนแปลงให้เป็นพุทธสถาน ปัจจุบันแม้จะหักพังไปมาก แต่ยังคงเห็นซากโบราณสถานหลงเหลือเป็นเค้าโครงค่อนข้างชัดเจนเช่น ปรางค์จตุรมุของค์ประธานหลักซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออกโดยมีมณฑปอยู่ เบื้องหน้าและมีฉนวน (ทางเดิน) เชื่อมต่อระหว่างอาคารทั้งสอง
ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปรางค์มีอาคารก่อด้วยหินทรายสีแดงเรียกว่า “ปรางค์น้อย” ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหินขนาดใหญ่ บริเวณโดยรอบปราสาทมีระเบียงคตสร้างด้วยหินทรายและศิลาแลงล้อมเป็นกำแพงอยู่ มีโคปุระ (ประตูทางเข้าเทวสถาน) ก่อสร้างเป็นรูปหอสูงทั้งสี่ทิศ บริเวณรอบนอกปราสาททางด้านทิศตะวันออกห่างจากโบราณสถานเกือบ 300 เมตร มีร่องรอยของคูน้ำและเนินดินเรียกว่า “เนินอรพิม” นอกจากนี้ยังพบศิลาแลงจัดเรียงเป็นแนวคล้ายซากฐานอาคารบนเนินแห่งนี้ด้วย

สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ

สถาบัน วิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ เป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทยและแห่งแรกของภูมิภาคเอเซียที่มีการจัด แสดงนิทรรศการและซากดึกดำบรรพ์ หรือฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและสมบูรณ์ที่สุด ด้วยเทคนิคที่น่าสนใจ ทั้งภาพ แสง สี เสียง รวมทั้งมีมุมกิจกรรมสำหรับเด็ก

ในพื้นที่ 80 ไร่ ประกอบด้วย อาคารพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ อาทิ

- พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน พบกับพรรณไม้ดึกดำบรรพ์ขนาดใหญ่ อายุประมาณ 8 แสนปี ถึง 720 ล้านปี ภาพยนตร์เกี่ยวกับกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต สัมผัสไม้กลายเป็นหินขนาดใหญ่เนื้ออัญมณีสีสันสวยงาม ความเชื่อ และภูมิปัญญาไทยกับไม้กลายเป็นหิน
- พิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ จัดแสดงนิทรรศการอุโมงค์ย้อนเวลาปัจจุบันสู่อดีต จากยุคหินใหม่อายุราว 3,000 ปีจนถึงสมัยช้างดึกดำบรรพ์ 4 งา เมื่อกว่า 10 ล้านปีก่อน ชมสารคดีวีดีทัศน์โลกล้านปี บนจอสกรีนโปร่งแสง พร้อมโครงกระดูกและหุ่นจำลองของช้างโคราช 4 งา ซึ่งเคยขุดค้นพบในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา และซากฟอสซิลอื่น ๆ อีกมากมาย

- พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ จัดแสดงภาพการต่อสู้ของไดโนเสาร์ในห้องฉายวีดิทัศน์ 360 องศา หุ่นจำลองไดโนเสาร์ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ และฟอสซิลไดโนเสาร์ที่ขุดค้นพบในโคราช เช่น อิกัวโนดอน สยามโมไทรันนัส ฯลฯ

นอกจากนี้ยังจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่เด่นของ อีสาน การพัฒนาทรัพยากร การกำเนิดภูเขาไฟ ผลกระทบจากการชนโลกของอุกกาบาตหรือดาวหางต่อไดโนเสาร์หรือช้างดึกดำบรรพ์ เป็นต้น

การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 304 (นครราชสีมา-ปักธงชัย) ระยะทาง 19 กิโลเมตร เลี้ยวขวากิโลเมตรที่ 121 เข้าไปทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ประตูที่ 2) อีก 2 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าถนนเลี่ยงเมืองสายมิตรภาพ-หนองปลิงอีก 1 กิโลเมตร

ติดต่อ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินและทรัพยากรธรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เลขที่ 184 ถนนมิตรภาพ-หนองปลิง หมู่ 7 บ้านโกรกเดือนห้า ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 0 4421 6617-8, 0 4421 6620-1, 0 4425 4000 ต่อ 1202 โทรสาร 0 4421 6617 ต่อ 1111 อีเมล์ petrifiedwood_museum@hotmail.com เว็บไซต์ www.khoratfossilmuseum.com

หมายเหตุ - ขณะนี้ยังไม่เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ ผู้สนใจเข้าชมทางศูนย์วิจัยมีเจ้าหน้าที่ และเอกสารต่างๆ ให้บริการทุกวัน ระหว่างเวลา 8.30 - 16.30 น.


สวนสัตว์นครราชสีมา

สวน สัตว์นครราชสีมา อยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศใต้ตามทางหลวงหมายเลข 304(นครราชสีมา-ปักธงชัย) ระยะทาง 18 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 (ทางหลวงหมายเลข 2310) อีกประมาณ 1 กิโลเมตร หากเดินทางรถโดยสารจากตัวเมืองสามารถใช้บริการรถปรับอากาศสาย 1415 (สุรนารี-สวนสัตว์)สวนสัตว์นครราชสีมามีพื้นที่กว้างขวางถึง 545 ไร่ เป็นสวนสัตว์แบบซาฟารีกึ่งเปิดและปิดที่ทันสมัยได้มาตรฐานที่สุดแห่งหนึ่งใน เอเชีย คอกสัตว์กว้างขวาง จัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับนิสัยสัตว์แต่ละชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ป่าแอฟริกา ที่น่าสนใจ ได้แก่ นกเพนกวิน แมวน้ำ ช้างแอฟริกา แรด เสือชีต้าห์ สิงโต ม้าลาย ยีราฟ เป็นต้น และยังมีอาคารจัดแสดงสัตว์เลื้อยคลาน และสวนนกเงือก จึงเหมาะแก่การทัศนศึกษาเรียนรู้ชีวิตสัตว์และพักผ่อนหย่อนใจ ภายในสวนตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับสวยงาม มีบริการรถพ่วงวิ่งรอบบริเวณ รวมทั้งจักรยานให้เช่าอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีไนท์ซาฟารี ซึ่งเป็นแห่งเดียวในภาคอีสานและเป็นทางเลือกใหม่ของนักท่องเที่ยวที่จะได้ สัมผัสบรรยากาศที่เย็นสบายและยังได้พบกับสัตว์ป่านานาชาติ เช่น งูหลามทอง เสือโคร่ง ช้างป่าแอฟริกา แรดขาว กระทิงเขาทุย นกฟลามิงโก ตลอดเส้นทางจะได้พบกับความเพลิดเพลินและความรู้ในด้านพฤติกรรมของสัตว์ป่า ที่หาชมได้ยากเป็นระยะทางกว่า 5 กิโลเมตร สวนสัตว์นครราชสีมา เปิดให้เข้าชมทุกวันระหว่างเวลา 08.00-18.00 น. อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย ผู้ใหญ่ 50 บาท เด็ก 10 บาท ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาทและไนท์ซาฟารี เปิดบริการวันละ 3 รอบ ทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 4493 4647, 0 4493 4531-2 หรือ www.zoothailand/nakhonratchasimazoo.org

วัดศาลาลอย

วัด ศาลาลอย ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง โดยแยกจากถนนรอบเมืองไปประมาณ 500 เมตร วัดนี้ตั้งอยู่ติดกับลำตะคองซึ่งไหลพาดผ่านตอนเหนือของตัวเมืองไปลงสู่แม่ น้ำมูล ท้าวสุรนารีกับท่านปลัดสามีสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2370
จุดเด่นของวัดอยู่ที่พระอุโบสถซึ่งได้รับรางวัลดีเด่นแนวบุกเบิกอาคารทาง ศาสนา จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และรางวัลจากมูลนิธิเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป ในปี พ.ศ. 2516 เป็นอุโบสถที่สร้างแบบศิลปไทยประยุกต์ เป็นรูปสำเภาโต้คลื่น ใช้วัสดุพื้นเมืองคือกระเบื้องดินเผาด่านเกวียนนำมาประดับตกแต่ง เช่น ผนังด้านหน้าอุโบสถเป็นภาพพุทธประวัติตอนมารผจญ ผนังด้านหลังเป็นภาพตอนพระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากดาวดึงส์ ส่วนบานประตูเป็นโลหะลายนูน ภาพเล่าเรื่องเวชสันดรชาดก (13 กัณฑ์) ภายในมีพระประธานปูนปั้นสีขาว ปางห้ามสมุทร เป็นพระพุทธรูปยืนประทับ ณ ประตูเมืองสังกัสนคร หน้าประตูอุโบสถมีปูนปั้นรูปท้าวสุรนารีนั่งพนมมือกลางสระน้ำ ตัวอุโบสถล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วรูปเสมา สัญลักษณ์ของเมืองเสมาเดิม ด้านข้างมีสถูปขนาดเล็กซึ่งเคยใช้เป็นที่บรรจุอัฐิท้าวสุรนารี


ประตูชุมพล

ประตู ชุมพล ตั้งอยู่ด้านหลังอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองนครราชสีมาเป็นเมืองหน้าด่านเมื่อ พ.ศ. 2199 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา และสร้างกำแพงประตูเมืองอย่างแข็งแรง โดยมีช่างชาวฝรั่งเศส ซึ่งเป็นมิตรประเทศกับกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น เป็นผู้ออกแบบผังเมือง เมืองนครราชสีมาในขณะนั้นมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 1,000 x 1,700 เมตร เดิมมีประตูเมืองทั้งหมด 4 ประตู ได้แก่ ประตูพลแสนด้านทิศเหนือ ประตูพลล้านด้านทิศตะวันออก ประตูไชยณรงค์ด้านทิศใต้ และประตูชุมพลด้านทิศตะวันตก ปัจจุบันเหลือเพียงประตูชุมพลเท่านั้นที่เป็นประตูเมืองเก่า ส่วนอีกสามประตูได้สร้างขึ้นใหม่ ลักษณะประตูชุมพลเป็นประตูเชิงเทิน ก่อด้วยหินก้อนใหญ่และอิฐ ฉาบด้วยปูน ส่วนบนเป็นหอรบสร้างด้วยไม้แก่นหลังคามุงกระเบื้อง ประดับด้วยช่อฟ้า กระจังและนาคสะดุ้ง กำแพงต่อจากประตูทั้งสองข้างก่อด้วยอิฐ ส่วนบนสุดทำเป็นรูปใบเสมา

 

ปราสาทนางรำ

ปราสาท นางรำ ตั้งอยู่ที่บ้านนางรำ ตำบลนางรำ ไปตามทางหลวงหมายเลข 2 (นครราชสีมา-ขอนแก่น) ประมาณ 62 กิโลเมตร จนถึงแยกบ้านวัด เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 207 ไปประมาณ 22 กิโลเมตรถึงบ้านหญ้าคา (หรือก่อนถึงตัวอำเภอประทาย 11 กิโลเมตร) จากนั้นเลี้ยวซ้ายทางเข้าวัดปราสาทนางรำอีก 4 กิโลเมตร ชื่อ ปราสาทนางรำ มาจากว่า เดิมเคยมีรูปนางรำ เป็นหินสีเขียวทำแบบเทวรูป อยู่ทางทิศตะวันตกของวิหารห่างไป 1.5 กิโลเมตร ปัจจุบันเหลือแต่ร่องรอยของเทวสถานและแท่นหิน ปราสาทนางรำเป็นโบราณสถานสมัยขอมที่เรียกว่าเป็น อโรคยาศาล (โรงพยาบาล) สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประกอบด้วยกลุ่มโบราณสถาน 2 กลุ่มตั้งอยู่ใกล้เคียงกัน กลุ่มปรางค์ที่สมบูรณ์กว่าหลังอื่นประกอบด้วยปรางค์องค์กลาง มีมุขยื่นออกไปข้างหน้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ส่วนทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปราสาทมีวิหารก่อด้วยศิลาแลงหันหน้าไปทาง ทิศตะวันตก มีกำแพงศิลาแลงล้อมรอบ ส่วนซุ้มโคปุระหรือประตูทางเข้าอยู่ทางด้านทิศตะวันออก มีแผนผังเป็นรูปกากบาท นอกกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีสระน้ำขนาดเล็กก่อด้วยศิลาแลง ถัดจากปราสาทนางรำไปทางทิศใต้ มีปราสาทอีก 3 หลังเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ ซึ่งเหลือเพียงฐานและมีกรอบประตูและทับหลังหินทรายตั้งแสดงอยู่ มีกำแพงศิลาแลงและคูน้ำรูปเกือกม้าล้อมรอบ

อนุสรณ์สถานนางสาวบุญเหลือ

อนุสรณ์ สถานนางสาวบุญเหลือ ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์ ตำบลโคกสูง อำเภอเมือง ห่างจากตัวเมืองประมาณ 12.5 กิโลเมตร อยู่ทางด้านซ้ายมือตามเส้นทางสายนครราชสีมา-ชัยภูมิ ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2529 อนุสาวรีย์หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์สูง 175 เซนติเมตร สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมของนางสาวบุญเหลือและเหล่าบรรพบุรุษของชาว นครราชสีมาที่ได้พลีชีพเพื่อปกป้องชาติเมื่อครั้งสงครามเจ้าอนุวงศ์ ปี พ.ศ. 2369 ที่ทุ่งสัมฤทธิ์ ด้วยการใช้ดุ้นฟืนติดไฟโยนเข้าใส่กองเกวียนดินดำของกองทัพลาวจนระเบิดเสีย หายหมดสิ้นและตัวนางได้สิ้นชีวิตในการสู้รบในครั้งนั้น

สวนไม้ดอกไม้ประดับ ซุ้มไม้งาม

อำเภอวังน้ำเขียวเป็นแหล่งปลูกไม้ดอกไม้ประดับสำคัญของภาคอีสาน เนื่องจากอยู่ในพื้นที่สูง มีอากาศเย็น ไม้ดอกที่ปลูกกันมากได้แก่ เบญจมาศ และหน้าวัว นักท่องเที่ยวสามารถแวะชมได้ตามทางเส้นทางสู่อำเภอวังน้ำเขียว โดยเฉพาะที่ตำบลไทยสามัคคี สวนไม้ดอกไม้ประดับแห่งหนึ่งที่น่าสนใจ ได้แก่ ซุ้มไม้งาม ของคุณชูศักดิ์ นิยมนา อยู่ที่บ้านบุไผ่ ตำบลไทยสามัคคี เลยที่ว่าการอำเภอวังน้ำเขียวไป 5 กิโลเมตร แยกซ้ายบ้านบุไผ่อีก 3 กิโลเมตร สวนแห่งนี้ได้รับทุนโครงการหลวงมาช่วยพัฒนา ผลผลิต ได้แก่ เฟิร์น, เบญจมาศ, เซอนาดู่ (ตัดใบขายใช้แต่งแจกัน) กุหลาบ (มีเฉพาะช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม) หน้าวัว ผลไม้ได้แก่ มังคุด เงาะ ลิ้นจี่ กระท้อน ลองกอง มะขามหวาน ช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม มีผลไม้ทุกชนิด

 
 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations