Attractions include Wat Pho Chai, renowned for its large seated Buddha believed to have been cast in Lan Chang, and Phra That Nong Khai, an old chedi that slipped into the river and can now only be seen completely in the dry season.
Sala Kaeo Ku is a bizarre sculpture garden packed with statres of Shiva, Vishnu and Buddha as well as many other figures from Hindu and Thai culture. Phu Wua Wildlife Sanctuary near the Mekong River contains a number of beautiful waterfalls.
Nong Khai is 615 kilometres from Bangkok and has an area of 7,739 square kilometres. It consists of the following districts: Mueang Nong Khai, Bueng Kan, Phon Phisai, Tha Bo, Sangkhom, Seka, So Phisai, Si Chiang Mai, Phon Charoen, Pak Khat, Bueng Khong Long, Si Wilai, Bung Khla, Sa Khrai, Rattana Wapi, Fao Rai and Pho Tak.
Car
From Bangkok, take Highway No. 1 to Saraburi which connects with Highway No. 2 to Nakhon Ratchasima, Khon Kaen, Udon Thani and Nong Khai. A total distance from Bangkok to Nong Khai is 615 kilometres.
Bus
The Transport Company Limited has a regular bus service both ordinary and air-conditioned to Nong Khai every day. For further information, contact the Mo Chit 2 (Chatuchak) Bus Terminal, Tel. 0 2936 2852-66, or visit the website www.transport.co.th . In ddition, there is a private bus service: 407 Phatthana, Tel. 0 2992 3475-8, 0 4241 1261; Chan Tour Limited, Tel. 0 2618 7418, 0 4241 2195; Barami Tour, Tel. 0 2537 8249, 0 4246 0345; and Cherdchai Tour, Tel. 0 2936 0253, 0 4246 1067.
Rail
Trains depart from Bangkok's Hua Lamphong and Bang Sue Railway Stations to Nong Khai every day. Call 1690, 0 2223 7010-20 or visit www.railway.co.th for more information.
Air
Visitors can fly from Bangkok to Udon Thani and continue the journey by car to Nong Khai, some 50 kilometres from Udon Thani. Call 1566, 0 2280 0060, 0 2628 2000 or visit www.thaiairways.com for more information.
Intra-provincial Transport
Visitors can use car rental services operated by many tour companies in town. They may choose a tricycle service called “Skylab” for visiting tourist spots in town and nearby areas, such as Tha Sadet Market, Wat Pho Chai, Sala Kaeo Ku, and Thai – Lao Friendship Bridge.
From the Nong Khai Bus Terminal, there is a bus service from Nong Khai to Loei, past Amphoe Tha Bo, Amphoe Si Chiang Mai and Amphoe Sangkhom in Nong Khai, and Amphoe Chiang Khan in Loei. The route runs along the Mekong River. In these districts, there are guesthouses available for visitors.
Inter-provincial Transport
Apart from a Nong Khai – Bangkok bus service, the Nong Khai Bus Terminal also provides its service on other routes: Nong Khai – Rayong (both ordinary and air-conditioned), and ordinary buses on the Nong Khai – Loei, Nong Khai – Nakhon Phanom, and Nong Khai – Udon Thani routes. Contact the Nong Khai Bus Terminal, Tel. 0 4241 1612.
Trains are available from Nong Khai to Udon Thani, Khon Kaen, and Bangkok three times a day. Contact the Nong Khai Railway Station, Tel. 0 4241 1582.
Distances from Amphoe Mueang to Other Districts
Tha Bo
Phon Phisai
Si Chiang Mai
So Phisai
Pak Khat
Sangkhom
Bueng Kan
Phon Charoen
Seka 228 kilometres
Bueng Khong Long
Si Wilai
Bung Khla 181
Sa Khrai |
42
45
57
90
90
95
136
182
228
238
163
181
24 |
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms.
kms. |
Distances from Nong Khai to Neighbouring Provinces
Udon Thani
Loei 202
Sakon Nakhon
Nakhon Phanom |
51
202
210
303 |
kms.
kms.
kms.
kms. |
Nong Khai Grand Songkran Festival
Date : April 11 - 15, 2009
Venue : At Wat Pho Chai temple and Hat Chomani beach near the Thai-Lao Friendship Bridge that spans the Mekong River
With the neighbouring country of Lao PDR on the opposite bank of the Mekong River, Songkran celebrations in the northeastern province of Nong Khai is a combined Thai-Lao Songkran festival, with rituals, cultural performances, folk games and cuisine, reflecting a shared heritage.
The procession of the Luang Pho Sai Buddha image is a long-standing tradition which is still being observed till this day.
Highlight
Procession of the highly revered Luang Pho Phra Sai Buddha image, highly revered by Thai and Lao communities on both banks of the Mekong River.
Gain insight into traditional customs, traditions and way of life during the Songkran Thai New Year celebrations. Other entertainment activities typically featured include traditional folk games and sports, beach sports, swim across the Mekong River, folk and cultural performances, the popular Miss Songkran beauty contest; and street fairs offering sales of local handicrafts, souvenirs and other products from the sub-districts of I-San (northeastern Thailand).
Activities
Procession of Luang Phor Phra Sai from Wat Pho Chai
Buddha images bathing rituals
Thai-Lao Songkran celebrations
The Bai Sri Suu Kwan ritual to bring good luck and ward off evil
The sprinkling of lustral water to seek the blessing of elders
Sand-stupa building contests
Local cultural performances
Miss Songkran Beauty Queen Contests
Miss Songkran Beauty Queen Procession
Food Street
Stalls offering souvenirs and local products made in Nong Khai
Contact information:
TAT Udon Thani Office Tel: +66 (0) 4232 5406-7
E-mail : tatudon@tat.or.th
Website : www.songkran.net
Phu Thok
Phu Thok means an isolated mountain in Isan dialect. Located in Ban Na Kham Khaen, Tambon Na Sabaeng, this sandstone range stands out and can be seen from a distance. It consists of two hills: Phu Thok Yai and Phu Thok Noi. Previously, this area was dense woods with many wild animals. Because of its tranquility, Phra Achan Chuan Kunlachettho, a meditation master, initially established a meditation place here for Buddhists to practise the Buddha’s teachings.
Phu Thok Noi is where Wat Chetiya Khiri Wihan (Wat Phu Thok) is situated. This temple is the starting point of a walk up to the top of Phu Thok, via a wooden bridge winding around the steep mountain. The bridge was built with faith from monks, novices and villagers. The construction began in 1969 and took five years to complete. This bridge is compared to a path of virtue that leads a righteous man to leave a world and enter into emancipation by their own efforts and determination. Phu Thok is still a meditation practice centre and a place for the community’s religious affairs. Visitors shall be calm in manner and pay respect to the place. The bridge’s stairs to the mountain top are divided into seven sections.
The first and second sections leading to the third section wind around the mountain which is covered by a dense dark forest with boulders and rocky grounds. At the end of the third section, a left turn is a very steep shortcut through the channel-like rock formation straight to the fifth section, but a right turn provides a path up to the fourth section.
The fourth section climbs around the mountain and overlooks small hills dotting the ground below called “Dong Chomphu” whose area to the west borders Phu Langka which is a rain forest in Amphoe Seka. Here, it is a residence for nuns. The section is around 400 m in circumference and is provided with rest areas here and there along the path.
The fifth section has pavilions and monk’s residences. There are several caves along the route to the sixth section. Many spacious rest areas are available on the sixth section, including cliffs, such as Pha Thep Nimit, Pha Hua Chang, Pha Thep Sathit, etc. To the north, visitors can see a natural stone bridge to Phra Wihan (hall) where the Lord Buddha’s relics are enshrined. Here, a mountainous line of Phu Thok Yai can be seen clearly. Most visitors often end their walk here. Since a further move to the seventh section goes along the winding bridge which clings to an edge of the high steep cliff, for around 400 m before reaching the shady forested hilltop destination. To visitors, this may seem horrifying and too dangerous.
To get there Phu Thok is around 185 km. from the town of Nong Khai. Take Highway 212, past Pho Chai, Pak Khat and Bueng Kan districts. Then, turn left to take Highway 222 and head for Si Wilai district. From Si Wilai, take a left turn and go on for another 30 km., past Ban Na Sing, Ban Sai Ngam, to Ban Na Kham Khaen and Phu Thok.
Luang Pho Phra Chao Ong Tue
Housed in Wat Si Chomphu Ong Tue, Ban Nam Mong. This large Buddha image was cast from bronze by the royal artisans of the northern city and Lan Chang. Having graceful features, the 4 metre-high image is sitting cross-legged in the attitude of subduing Mara with a lap width of 3.29 m. It is a holy image which has gained much respect from the peoples on both of the banks of the Mekong River. According to a stone inscription, this image was built in 1562 by the royal command of Phra Chaiyachettha, King of Nakhon Wiang. The metals used included gold, brass, and silver, weighing a total of one Tue (an ancient scale of Isan) and it took seven years and seven months to finish the cast. The province has a fair to pay homage to Luangpho Phrachao Ong Tue every year on the full moon day in the fourth lunar month.
To get there : From the town of Nong Khai, take Highway 2 to Udon Thani and switch to Highway 211 (Nong Khai – Tha Bo). At Km 31, follow a road sign on the left to the temple for around 1 km.
Namtok Than Thong
Namtok Than Thong is in Ban Pha Tang at Km. 74 of Highway No. 211, 11 kilometres before arriving in Sangkhom district office and 83 kilometres from Amphoe Muang. The waterfall is 30 metres high and falls down to the Mekong. Below is a large pool suitable for swimming. There is water only in the rainy season.
Namtok Than Thip
Namtok Than Thip is at Ban Tat Som in Tambon Ban Muang at Km. 97 on Highway No. 211, then take a left for 2 kilometres. This three-level waterfall is 30 metre-high, 100 metre-high and 70 metre-high, respectively. It is at its most beautiful in the rainy season.
Wat Hin Mak Peng
Located at Ban Thai Charoen, Tambon Phra Phutthabat. The temple compound is spacious, clean and shady with various species of plants amidst tranquility. Its area on one side borders the Mekong River where a scenic view can be seen. Originally, this place was a Dharma practice place of Luangpu Thet Thetrangsi, a famous meditation master of Isan, who initiated it as a Dharma practice centre for Buddhist monks, nuns and pilgrims. After his death, a Chedi was built to enshrine his remains. Inside the temple, there is a statue of Luangpu Thet on display with the eight requisites (the three robes, the bowl, a razor, a needle, the girdle and a water-strainer) and his biography.
To get there : Wat Hin Mak Peng is 75 km. from town. Take Highway 211 (Nong Khai – Si Chiang Mai) and switch to Highway 2186. The temple is on your right.
Thai-Lao Friendship Bridge
Thai-Lao Friendship Bridge is the first international bridge spanning the Mekong. The bridge was built jointly by the governments of Australia, Thailand and Laos. It was opened in April 8, 1994.
Sala Kaeo Ku
Located 3 km. from the town of Nong Khai on the right side of the route to Phon Phisai. Presently, it is under the care of the Nong Khai Buddhist Association. This place which looks like an open museum of religious statues was created with an inspiration of Luangpu Bunluea Surirat who built it around 1978, out of his own belief that the teachings of all regions could be mixed together. Therefore, there are Buddha images in different attitudes, Hindu gods, Christian religious icons, as well as character figures from the Ramayana epic and folk legends. It is open daily during 07.00 - 17.00 hrs. Admission fee is 10 Baht per person.
Phrathat Bang Phuan
Phrathat Bang Phuan is at Ban Don Mu, 11 kilometres from town on the Nong Khai-Udon Thani road, then a road on the right onto Highway No. 211 to Tha Bo for 10 kilometres. This old pagoda is 34 metres high and houses the holy relics of Lord Buddha. It underwent major renovation in 1976 because the original fired brick pagoda collapsed. The temple still has the old pagoda, temple boundary markers and an ancient stone inscription. Furthermore, there is an ancient pool from which water was once used in blessing past city lords.
Phu Wua Wildlife Reserve
Phu Wua Wildlife Sanctuary is located in Ban Don Chik; 3 km from Bung Khla district and take a right turn for a further trip of around 6 km. It has an area of around 186 sq. km. or 116,562 rai, covering some part of Bueng Kan, Bung Khla, Seka and Bueng Khong Long districts, and nearly bordering Laos. This sanctuary is around 150-300 m above sea level. Types of forest here are mostly Deciduous Dipterocarp Forest, Dry Evergreen Forest and Moist Evergreen Forest. Some parts of the area are sandstone mountain ridges, rocky grounds and grass fields.
Places of Interest
Namtok Tham Fun is located in Ban Phu Sawat, Tambon Nong Doen. Drive on Highway 212, and 7 km. before reaching Bung Khla district, turn right to go on for around 4 km. The waterfall is encompassed by a timber forest with a scenic view of the northern Phu Wua. A walking trail passes a rocky ground to the cascade which is seen along the long narrow channel on the sandstone cliff. There is water only in the rainy season.
Namtok Chet Si is located in Ban Don Siat, Tambon Ban Tong, Amphoe Seka. This very beautiful waterfall, especially during the rainy season, originates from a stream of Huai Ka-am and flows along a high sandstone cliff to spread over a long line. The falling water that hits the rocks below causes a spray of water which gives rainbow colours when seen in sunlight. So came the name “Namtok Chet Si,” which means a waterfall of seven colours.
To get there Drive on Highway 212, and 12 km. before reaching Bung Khla district, turn right at Ban Chai Phon. Head for the waterfall, past Ban Phu Ngoen and Ban Don Siat, for 28 km. Or from Phu Thok, take the route via Ban Na Tong and Ban Don Siat, totalling 14 km.
Namtok Phu Tham Phra is located in Ban Tham Phra, Tambon Sok Kam, Amphoe Seka. It is around 34 km. from Seka district. Like other waterfalls at Phu Wua, it has water only in the rainy season. A monastic residence or Samnak Song here is tranquil and shady. Walking down to the rocky ground at the back, visitors will find a valley with a deep bottom of around 200 sq. m. where a waterfall flows down the valley. The waterfall is on a cliff of around 100 m wide and 50 m high. Visitors can play in the pool.
To get there It is rather a difficult trip. From Bung Khla district, drive on Highway 212 for 24 km. to Ban Tha Dok Kham. Turn right to take a dirt road to Huai Bang Bat and go further by boat to the waterfall.
Namtok Chanaen is located in Ban Phu Ngoen, Amphoe Seka. Originally, it was called “Namtok Tat Sanaen.” “Tat” literally means a place where water flows. “Sanaen” refers to “summit” or “excellence.” This waterfall has its origin from Lam Huai Sanaen. It is 100 m wide and has two tiers with an interval of 300 m. This is a large and beautiful waterfall which has water only in the rainy season. The path to the waterfall passes Khua Hin or a natural stone bridge of around 100 m long, where a phenomenon of water disappearing under the bridge can be witnessed. A walk up to the second tier passes along a stream dotted with boulders. Following the stream on its left bank, visitors will find a broad ground by a large pool. There is another small waterfall called Namtok Bueng Chorakhe, rushing down to the pool.
To get there Use the same route to Namtok Chet Si. Take the Ban Chai Phon – Ban Phu Ngoen route for 13 km. Follow a small road off the route for another 5 km. Go further for the final distance on a bumpy narrow dirt road accessible by only motorcycle.
For more information, you may visit this website : http://thailandwildelephanttrekking.com
Wat Pho Chai
A royal temple, located on Pho Chai Road in the Mueang Nong Khai Municipality. Luangpho Phra Sai, a sacred Buddha image of the town which is respected by the people of Nong Khai, is housed here. This Buddha image sitting cross-legged, which was cast from bright yellow gold in the posture of subduing Mara, has graceful features. According to legend, three daughters of the King of Lan Chang had three Buddha images cast and named each to associate with their names: Phra Soem, Phra Suk, and Phra Sai to the eldest, middle, and youngest siblings, respectively. Originally, the three images were housed in Vientiane. In the reign of King Rama III, they were invited to Nong Khai by boat. On the way to Nong Khai, Phra Suk was drowned by a storm. Phra Soem and Phra Sai were invited to house in Nong Khai. Later on, in the reign of King Rama IV, Phra Soem was taken to Bangkok. Phra Sai is still housed at Wat Pho Chai in Nong Khai. Every year on the full moon day in the seventh lunar month, the people of Nong Khai always hold a rocket merit-making fair or Bun Bang Fai to worship Phra Sai at Wat Pho Chai.
Krayo Pastry-making Village
Located on the route from Nong Song Hong to Amphoe Tha Bo. Here, bamboo trays are seen with Krayo pastry being sun-dried along the roadsides. Krayo pastry is used for Vietnamese food such as Popia (spring rolls) and Naem Nueang (wrap of pork and vegetables with spicy sauce). Krayo pastry is an export product as well.
Tobacco-making Village
Tobacco-making Village is along the route from Amphoe Mueang to Amphoe Tha Bo on Highway 211. The villagers grow tobacco plantations along the area parallel to the Mekong River. Here, there are picturesque views of nature.
Freshwater Fishery
Located in Tambon Kong Nang on the Tha Bo – Si Chiang Mai route. The villagers here have freshwater fishery as a profession. Freshwater species of fish raised in their farms are Pla Taphian, Pla Nai, Pla Nuan Chan, Pla Yisok Thet, Pla Klet Ngoen, Pla Hua To, Pla Duk Thet, etc. Their produce is delivered for sale in Bangkok, the North and Isan regions.
Getting to Vientiane
Visa
Foreign tourists wishing to visit Laos from Nong Khai must apply for visas at least 3 working days in advance at
- Lao Embassy, 520/1-3 Soi Ramkhamhaeng 39, Bang Kapi, Bangkok, Tel: 0 2539 6667 or
- Lao Consulate General, 171/102-3 Prachasamoson Road, Amphoe Mueang, Khon Kaen, Tel: 0 4324 2856-8 Fax: 0 4224 4918
They can use the services of a number of tour operators in Nong Khai. The visa is valid for 1 month and visitors can extend for additional 2 months.
Visitors to Laos may obtain visas on arrival at the Immigration Office in Laos and are permitted to remain in Laos for 15 days.
Transportation
Shuttle bus services crossing the bridge cost 20 baht per person. From the checkpoint in Laos visitors can hire a taxi to Vientiane which is 20 kilometres away and costs 500 baht. The checkpoint is open daily from 6 a.m. to 10 p.m.
To bring a car in and out of the country, a document is required with a fee as imposed. Contact a tour company in Nong Khai for the service. For further information, contact the provincial customs checkpoint, Tel. 0 4241 1518, 0 4242 1468-9, fax: 0 4241 2654.
Major attractions in Vientiane are temples, museums, monuments and a morning market. Package tours cost approximately 800-1,500 baht for one-day trip and 2,000-2,600 baht for two-day trip. The prices vary according to the number of people in a group. Details can be obtained from tour operators in Nong Khai.
Tha Sadet
Tha Sadet is the port for local people crossing the Mekong River to Tha Duea in Laos. There is a market for Indo-Chinese and eastern European products, as well as the provinces local goods.
Prap Ho Monument
Located in front of the old city hall. The cremated bones of those who lost their lives in the suppression of the Ho in 1886 have been contained inside the monument which was built by an order of Luang Prachaksinlapakhom, the suppression commander, to honour the good deeds of those who sacrificed their own lives for the nation. There are inscriptions in Chinese, English, Laotian and Thai on all four directions of the monument. A worshipping ceremony and a fair to celebrate the monument are held every year on 5 March.
Phrathat Nong Khai
Phrathat Nong Khai collapsed into the Mekong in 1847. Over the years the pagoda drifted to the centre of the river where it is seen today.
Hat Chom Mani
Hat Chom Mani is a sandy beach on the Mekong River, 2 kilometres from town. The beach occurs during the dry season in April. The locals and tourists enjoy a day out here.
หนองคาย : ข้อมูลทั่วไป
วีรกรรมปราบฮ่อ หลวงพ่อพระใส สะพานไทย-ลาว
หนองคาย เมืองชายแดนริมฝั่งแม่น้ำโขง เป็นประตูสู่เมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) โดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวเชื่อมระหว่างสองประเทศจังหวัดหนองคายอยู่ห่าง จากกรุงเทพฯ 615 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 7,332 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ติดแม่น้ำโขงมากที่สุดเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร เหมาะแก่การทำเกษตรกรรมและประมงน้ำจืด ทั้งยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ สามารถเดินทางข้ามไปเที่ยวยังฝั่งลาวได้โดยสะดวก มีวัดวาอารามและวัฒนธรรมวิถีชีวิตชาวบ้านที่น่าสนใจ โรงแรมที่พักที่สะดวกสบาย หลากหลายไปด้วยอาหารและสินค้าของฝาก ล้วนเป็นเสน่ห์ดึงดูดให้ผู้คนเดินทางมาเยือนเมืองริมโขงแห่งนี้
ภูมิอากาศ
เนื่องจากจังหวัดหนองคายมีภูมิประเทศติดกับแม่น้ำโขง ทำให้มีฝนตกชุกในฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ในฤดูหนาวราวเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์จะมีอากาศหนาวเย็นเนื่องจากพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นที่สูง อุณหภูมิต่ำสุดประมาณ 11 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายนอากาศจะร้อนจัด อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 35 องศาเซลเซียส
หนองคาย เมืองน่าอยู่อันดับ 7 ของโลก
นิตยสาร Modern Maturity ของสหรัฐอเมริกา จัดให้หนองคายเป็นเมืองน่าอยู่ลำดับที่ 7 ของโลก สำหรับคนวัยเกษียณชาวอเมริกัน จากการสำรวจ 40 เมืองทั่วโลก โดยอาศัยตัวชี้วัด 12 ตัว คือ ภูมิอากาศ ค่าครองชีพ วัฒนธรรม ที่อยู่อาศัย สาธารณูปโภค การคมนาคม บริการทางการแพทย์ สภาพแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ ความปลอดภัย ความมั่นคงทางการเมือง และการเข้าถึงเทคโนโลยี
ประวัติเมืองหนองคาย
ประวัติศาสตร์ของเมืองหนองคายเริ่มต้นเมื่อกว่า 200 ปีเศษ พื้นที่บริเวณริมฝั่งโขงนี้เดิมเคยเป็นที่ตั้งของเมืองเล็ก ๆ 4 เมือง คือ เมืองพรานพร้าว เมืองเวียงคุก เมืองปะโค เมืองไผ่ (บ้านบึงค่าย) ปัจจุบันยังพบซากโบราณสถานอยู่ตามวัดต่าง ๆ ริมแม่น้ำโขงบนเส้นทางท่าบ่อ-ศรีเชียงใหม่
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าอนุวงศ์ กษัตริย์ผู้ครองนครเวียงจันทน์ได้ตั้งตนเป็นกบฎ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าให้เจ้าพระยาราชเทวี ยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทน์ โดยมีท้าวสุวอธรรมา (บุญมา) เจ้าเมืองยโสธร และพระยาเชียงสา เป็นกำลังสำคัญในการช่วยทำศึกจนได้รับชัยชนะ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯให้ท้าวสุวอขึ้นเป็นเจ้า เมือง โดยจัดตั้งเมืองใหญ่ทางฝั่งขวาของแม่น้ำโขงคอยควบคุมพื้นที่และเลือกสร้าง เมืองที่บ้านไผ่ แล้วตั้งชื่อเมืองว่า หนองคาย ตามชื่อหนองน้ำใหญ่ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดกับแม่น้ำโขงอันเป็นเส้นกั้นพรมแดนระหว่าง ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศใต้ ติดกับจังหวัดอุดรธานี, สกลนคร
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดนครพนม
ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดเลย
หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ
- ศูนย์ข้อมูลข่าวสารท่องเที่ยว ททท. โทร. 0 4242 1326
(อยู่ภายในบริเวณศูนย์ราชการ จ.หนองคาย)
- สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 4241 1021, 0 4241 1071
- โรงพยาบาลหนองคาย โทร. 0 4241 3456-8
- โรงพยาบาลหนองคาย-วัฒนา โทร. 0 4246 5201
- สถานีขนส่ง บ.ข.ส. โทร. 0 4241 1612
- ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 4241 2110
- สำนักงานจังหวัด โทร. 0 4241 1778
- ด่านศุลกากร โทร. 0 4241 1518, 0 4242 1207
- กองกำกับการตรวจคนเข้าเมือง โทร. 0 4241 1605
- สถานีรถไฟหนองคาย โทร. 0 4241 1637 , 0 4241 1592
Link ที่น่าสนใจ
สำนักงานจังหวัดหนองคาย
http://www.nongkhai.go.th
ด่านตรวจคนเข้าเมืองหนองคาย
http://www.nongkhaiimmigration.com
หนองคาย : ข้อมูลการเดินทาง
ข้อมูลการเดินทางของ จ. หนองคาย
การเดินทางจากหนองคายไปยังจังหวัดใกล้เคียง
นอกจากรถโดยสารสายหนองคาย-กรุงเทพฯแล้ว จากสถานีขนส่งหนองคายยังมีบริการรถโดยสารสายหนองคาย-ระยอง (มีทั้งรถปรับอากาศและธรรมดา) รถธรรมดาสายหนองคาย-เลย และหนองคาย-อุดรธานี ติดต่อสถานีขนส่งหนองคายโทร. 0 4241 1612
ส่วนรถไฟมีรถออกจากสถานีหนองคายไปยังอุดรธานี ขอนแก่น และกรุงเทพฯ วันละประมาณ 3 เที่ยว ติดต่อสถานีรถไฟหนองคาย โทร. 0 4241 1592
ระยะทางจากหนองคายไปจังหวัดใกล้เคียงมีดังนี้
- อุดรธานี 51 กิโลเมตร
- เลย 202 กิโลเมตร
- สกลนคร 210 กิโลเมตร
- นครพนม 303 กิโลเมตร
รถยนต์
จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ผ่านสระบุรี แล้วเข้าทางหลวงหมายเลข 2 ผ่านนครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย รวมระยะทาง 615 กิโลเมตร
รถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทย มีขบวนรถไฟจากกรุงเทพฯ-หนองคาย ทุกวัน ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่หน่วยบริการเดินทาง โทร. 1690, 0 2223 7010,0 2223 7020 www.railway.co.th สถานีรถไฟหนองคาย โทร. 0 4241 1592
รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารประจำทางทั้งรถโดยสารธรรมดาและรถปรับอากาศไปหนองคาย ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สถานีขนส่งหมอชิต 2 (จตุจักร) โทร. 0 2936 2852-66 นอกจากนี้ ยังมีบริษัทเอกชนหลายแห่งที่บริการเดินรถไปจังหวัดหนองคาย เช่น 407 พัฒนา โทร. 0 2992 3475-8 , 0 4241 1261 ชาญทัวร์ จำกัด โทร. 0 2618 7418, 0 4241 2195 บารมีทัวร์ โทร. 0 2537 8249, 0 4246 0345 เชิดชัยทัวร์ โทร. 0 2936 0253 , 0 4246 1067 www.transport.co.th
เครื่องบิน
นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางโดยเครื่องบิน สามารถไปได้โดยลงที่สนามบินจังหวัดอุดรธานี จากนั้นต่อรถเข้าจังหวัดหนองคายอีก 51 กิโลเมตร สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับตารางการบินได้ที่ บมจ.การบินไทย โทร. 1566,0 2628 2000 , 0 2356 1111 www.thaiairways.com หรือ สายการบิน ไทยแอร์เอเชีย โทร. 0 2515 9999 www.airasia.com
การคมนาคมภายในตัวจังหวัด จ.หนองคาย
นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถเช่าของบริษัทนำเที่ยวซึ่งมีมากมายในตัว เมือง หรืออาจใช้บริการรถสามล้อเครื่องที่เรียกกันว่า สกายแล็ป ไปยังจุดท่องเที่ยวต่าง ๆ ในตัวเมืองและใกล้เคียง เช่น ตลาดท่าเสด็จ วัดโพธิ์ชัย ศาลาแก้วกู่ และสะพานมิตรภาพไทย-ลาว จากสถานีขนส่งหนองคายมีรถโดยสารสายหนองคาย-เลย วิ่งผ่านอำเภอท่าบ่อ ศรีเชียงใหม่ สังคม และอำเภอเชียงคานของจังหวัดเลย ซึ่งเป็นเส้นทางเลียบแม่น้ำโขง ในอำเภอเหล่านี้จะมีที่พักแบบเกสต์เฮ้าส์สำหรับบริการนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารวิ่งระหว่างหนองคาย-นครพนม ด้วย
การเดินทางจากอำเภอเมืองหนองคายไปยังอำเภอต่าง ๆ>
- อำเภอสระใคร 26 กิโลเมตร
- อำเภอท่าบ่อ 42 กิโลเมตร
- อำเภอบุ่งคล้า 181 กิโลเมตร
- อำเภอโพนพิสัย 45 กิโลเมตร
- อำเภอศรีเชียงใหม่ 57 กิโลเมตร
- อำเภอรัตนวาปี 71 กิโลเมตร
- อำเภอเฝ้าไร่ 71 กิโลเมตร
- อำเภอโพธิ์ตาก 77 กิโลเมตร
- อำเภอปากคาด 90 กิโลเมตร
- อำเภอสังคม 95 กิโลเมตร
- อำเภอโซ่พิสัย 90 กิโลเมตร
- อำเภอบึงกาฬ 136 กิโลเมตร
- อำเภอศรีวิไล 163 กิโลเมตร
- อำเภอพรเจริญ 182 กิโลเมตร
- อำเภอเซกา 228 กิโลเมตร
- อำเภอบึงโขงหลง 238 กิโลเมตร
บริษัทนำเที่ยวและรถเช่า จ.หนองคาย แนะนำการใช้งาน
กานตนาทัวร์
192 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4241 1132, 08 1964 1411
ขวัญใจ ทราเวิล แอนด์ ทรานสปอร์ต 2004
169/1 หมู่ 4 ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 4696
จีระทีปต์ทัวร์ หนองคาย
186 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 1450
โจ อินเตอร์ไพรส์
181 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 3912, 08 9274 4533, 08 9840 9295
โชคอนันต์ทัวร์ (นายเชิดศักดิ์ น้อยบรรเทา)
178 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 08 6580 0977
เดอะรอยัลเอ็กเพรส 1991
1191 หมู่ 2 ถนนเจนจยทิศ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 1214-6
ถาวรณ์นำเที่ยว (นางถาวรณ์ ทบอาจ)
203 หมู่ 3 อำเภอเมือง
โทร. 08 5758 9926, 08 5758 9929
ทองวิเศษทัวร์ (นางพูนศรี ทองวิเศษ)
188 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 7579
ธุรกิจบริการ 1994
108/1 ถนนเลี่ยงเมือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 7154
นฤมลทัวร์
179 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4241 2565, 08 1873 3128
ปทิตตา ทราเวิล เซอร์วิส
225 หมู่ 6 ตำบลค่ายบกหวาน อำเภอเมือง
โทร. 08 9186 0744, 0 4241 3852
ปาริฉัตร ทัวร์ (น.ส.วรินญา คำจันทร์)
299/3-4 ถ.หนองคาย-เวียงจันทร์ ตำบลมีชัย
โทร. 0 4246 7244, 08 6634 8139
พิมทัวร์ (นางพวงทอง ภักดีไทย)
171 หมู่ 1 ตำบลหนอกกอมเกาะ อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 0250, 08 7228 8045
พี.เอ็น.ทัวร์ 1993
1202 หมู่ 2 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4241 1543, 08 1964 4344
โพธิ์ชัย ทราเวิล (นางวิมลรัตน์ เสียงเสนาะ)
800/1 หมู่ 11 ซอยหน้าวัดโพธิ์ชัย ถนนประจักษ์ อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 0218
ภูตะวันเซอร์วิสทัวร์ (น.ส.สมบัติ ขัตตะเนตร)
177 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 08 6855 7646, 08 7226 5109
มหานาคา (นาคาทราเวล)
519 หมู่ 4 ถนนริมโขง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4241 3666
แร็พพอร์ท เซอร์วิส แอนด์ ทราเวิล
169/8 หมู่ 4 ถนนเชื่อมเมือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 5688-9
สาขา 593/4 หมู่ 4 ถนนประจักษ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 0569
ยิ่งเจริญทัวร์ (นางนงนุช ดอกบัวซ้อน)
180 หมู่ 3 ถนนเสด็จ ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 08 6218 6472, 08 7216 4511
หนองคายทราเวิล 2006 (นายเรวัตร รัตนา)
993 หมู่ 7 ถนนปรจักษ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 2911, 08 9573 8490, 08 5010 5183
หนองคายธุรกิจเวียงจันทน์
133 หมู่ 3 ถนนเลี่ยงเมือง ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 7836
หนองคายมิราเคิล ทราเวิล
575/1 ถนนประจักษ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 08 1708 4551
หนองคาย ศุภโชคทัวร์
659/11 หมู่ 4 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 4035, 08 1380 0523
หนองคายอินเตอร์ทัวร์ (นายชาตรี คุรุอังกูร)
1122 หมู่ 3 ถนนหายโศก ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4242 0690, 08 1262 7500
สาขา 352 หน้าโรงแรมการิน ถนนวัฒนานุวงศ์ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
วันใสทัวร์ (น.ส. อินทิรา แสนยาพิทักษ์)
143 หมู่ 5 ถนนพนักชลประทาน ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 08 9619 0398, 0 4241 3110
วิงเวิลด์ หนองคาย
202 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 4653, 08 4031 2233, 08 6222 2056
สไมล์ สไมล์ ทราเวิล (นายธนกฤต)
1185/4 หมู่ 2 ถนนประจักษ์ อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 4653, 08 4031 2233, 08 6222 2056
เอที มิตรภาพทัวร์ (มิตรภาพทัวร์)
170 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 7699, 08 1975 9270
อินโดจีน ทราเวิล
196 หมู่ 3 ถนนมิตรภาพไทย-ลาว ตำบลมีชัย อำเภอเมือง
โทร. 0 4246 7343
โฮเต็ล-สปา-ทัวร์ แอนด์ ทราเวิล ฮอลิเดย์
1049 หมู่ 4 ถนนหายโศก ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
โทร. 0 4241 1568-9, 0 4246 0850
หนองคาย : วัฒนธรรมประเพณี
การแข่งขันจักรยานทางไกลนานาชาติ "Tour of Thailand 2009"
วันที่ 4 - 9 เมษายน 2009
การจัดการแข่งขันจักรยานทางไกลนานาชาติ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 54 พรรษา การแข่งขันในครั้งนี้จึงใช้ชื่อว่า PRINCESS MAHACHANKRI SIRINDHON CUP TOUR OF THAILAND 2009 โดยถือเอาวันที่ 4 เมษายน 2552 ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพ เป็นวันเปิดการแข่งขัน
การแข่งขันจักรยานทางไกลนานาชาติ "Tour of Thailand 2009" เป็นการแข่งขันที่สหพันธ์จักรยานนานาชาติ หรือยูซีโอ ให้การรับรอง โดยมีนักจักรยานจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย แอฟริกา เข้าร่วม 20 ทีม และทีมจากสโมสรในประเทศอีก 5 ทีม รวมเป็น 25 ทีม
การจัดงานใช้พื้นที่ 3 จังหวัด คือหนองคาย เลย และอุดรธานี เป็นสนามแข่งขัน ระยะทาง 909.79 กม. แบ่งเป็น 6 สเตท โดยสเตทแรกเริ่มต้นที่น้ำพุพญานาค เทศบาลหนองคาย และสเตทสุดท้ายใช้ถนนรอบหนองประจักษ์ศิลปาคม โดยมอบรางวัลชนะเลิศถ้วยรางวัลพระราชทานที่ จ.อุดรธานี
การจัดแข่งขันรายการนี้ ถือเป็นการเผยแพร่แหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยและภาคอีสาน รวมทั้งส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเที่ยวในภูมิภาค และยังเป็นการสร้างกระแสให้คนไทยหันมาให้ความสำคัญในการออกกำลังกายอีกด้วย
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
สมาคมจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โทร. 0 2719 3340-2
E-mail : taca1959@yahoo.com
มหาสงกรานต์อีสานหนองคาย ประจำปี 2552
กำหนดจัดงาน
วันที่ 11 - 18 เมษายน 2552
พื้นที่จัดงาน
บริเวรวัดโพธิ์ชัย และหาดจอมมณี อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
กิจกรรมในงาน
การทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ 109 รูป พิธีอัญเชิญหลวงพ่อพระใส กิจกรรมส่งเสริมการเล่นน้ำสงกรานต์ "หนองคาย คูล โซน"
กิจกรรม Hi-Light
ขบวนอัญเชิญหลวงพ่อพระใส ขบวนแห่ประเพณีสงกรานต์และการแสดงสืบสานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง 3 ชาติ กิจกรรมส่งเสริม "แต่งผ้าไทยม่วนซื่นสงกรานต์ริมฝั่งโขง"
สอบถามรายละเอียด
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย โทร. 0 4242 1326
ททท. สำนักงานอุดรธานี โทร. 0 4232 5406-7
มหัศจรรย์แห่งลุ่มแม่น้ำโขง
ลูกไฟแดงอมชมพู ที่พุ่งขึ้นจากแม่น้ำโขง สู่ท้องฟ้าในวันออกพรรษาที่บริเวณเขต อ.โพนพิสัย เห็นจนชินและเรียกสิ่งนี้ว่า “บั้งไฟพญานาค” เพราะลูกไฟที่ว่านี้จะเป็นลูกไฟ สีแดงอมชมพู ไม่มีเสียงไม่มีควัน ไม่มีเปลว ขึ้นตรง ไม่โค้งและตกลงมาเหมือนลูกไฟทั่วไป จะดับกลางอากาศ สังเกตได้ง่ายจากลูกไฟทั่วไป จะเกิดขึ้นในเขตตั้งแต่ท่าน้ำวัดหลวง ต.วัดหลวง เรื่อยลงไปจนถึง เขตบ้านน้ำเป กิ่ง อ.รัตนวาปี แต่ก่อนจะเห็นเกิดขึ้นเฉพาะท่าน้ำวัดหลวง, วัดจุมพล, วัดไทย และท่าน้ำวัดจอมนาง อ.โพนพิสัย แต่ทุกวันนี้จะเห็นเกิดที่บ้านน้ำเป, บ้านท่าม่วง, ตาลชุม, ปากคาด และ แก่งอาฮง อ.บึงกาฬ
ก่อนนี้คน อ.โพนพิสัย เห็นแล้วก็เฉย ๆ เพราะเห็นประจำทุกปีในวันออกพรรษา ผู้เขียนสมัยเมื่ออายุยังน้อย เมื่อปี 2508 (เป็นคน อ.โพนพิสัย) เมื่อวันออกพรรษา ได้ไปนั่งดูอยู่ที่ท่าน้ำวัดไทย อ.โพนพิสัย และได้ลงเรือไปไหลเรือไฟด้วย เมื่อไหลเรือไฟมาถึงบริเวณท่าน้ำวัดหลวงก็จะเริ่มเห็นลูกไฟดังกล่าวพุ่งขึ้น จากแม่น้ำโขง ขึ้นสูงไม่เกิน 2-3 วา นาน ๆ จะพุ่งขึ้นที จะขึ้นก็ต่อเมื่อประชาชนบนฝั่งเวียนเทียนเสร็จ เงียบ ลูกไฟถึงจะขึ้นให้เห็น แต่ทุกวันนี้ เมื่อ 18.00 น ก็ขึ้นแล้วขึ้นสูงถึง 200-300 เมตร และขึ้นแต่ละทีก็มากด้วย ตั้งแต่ 5-20 ลูกติดต่อกัน สังเกตว่า ลูกไฟนี้หากขึ้นกลางโขงจะเบนเข้าหาฝั่ง หากขึ้นใกล้ฝั่งจะเบนออกกลางโขง ลูกไฟนี้จะขึ้นเฉพาะวันออกพรรษาเท่านั้น แต่ถ้าหากวันพระไทย ไม่ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ ของลาว ลูกไฟนี้ก็จะไม่ขึ้น ปีไหน (วันออกพรรษา) ตรงกันทั้งไทย และ ลาว ลูกไฟนี้จะขึ้นมาก เชื่อกันว่าที่ เขต อ.โพนพิสัย มีเมืองบาดาล อยู่ใต้พื้นดินและเป็นทางออกสู่เมืองมนุษย์ เรียกว่า เป็นเมืองหน้าด่านจึงมีบั้งไฟพญานาค เกิดขึ้นเป็นประจำที่นี้ ส่วนเมืองหลวงนั้นอยู่ที่ แก่งอาฮง อ.บึงกาฬ ที่ว่าอย่างนั้นเพราะที่แก่งอาฮง เมื่อหน้าแล้งจะมีสะดือแม่น้ำโขง ตลอดความยาวของแม่น้ำโขง ที่ไหลผ่านหลายประเทศ ตรงที่ลึกที่สุดก็อยู่ที่แก่งอาฮง เมื่อหน้าแล้ง ชาวประมงวัดโดยใช้เชือกผูกก้อนหินหย่อนลงไปได้ 99 วา ที่นี้จะมีลูกไฟขึ้นเป็นสีเขียวนวล บ่อยครั้งที่ชาวลุ่มแม่น้ำโขงต้องเสียชีวิตลงในระหว่างการเดินทาง ทางน้ำ พวกเขาเชื่อว่าเป็นการกระทำผิดต่อเจ้าแม่สองนาง หรือ เทพเจ้าทางน้ำ จึงถูกลงโทษเหตุนี้เรียกว่า “เงือกกิน” “เงือก, งู” เป็นสิ่งเดียวกันกับพญานาค แต่พญานาคนั้นมีภพเป็นที่อยู่อีกมิติหนึ่ง สามารถแปลงร่างได้หลายชนิด แปลงกายเป็นมนุษย์ หรือ อะไรก็ได้ เพียงแค่คิดเท่านั้นรูปร่างก็เปลี่ยนไปแล้ว จึงได้ปรากฏอยู่บ่อยๆ ว่ามีคนเห็นงูใหญ่ หรือเห็นคนเดินลงไปในน้ำ หรือหลายครั้งที่มีคนพบรอยประหลาดแต่ก็เชื่อว่าเป็นรอยพญานาคที่เกิดขึ้นใน เขต อ.โพนพิสัย หรือที่อื่น ๆ แม้แต่กลางกรุงเทพ ฯ ก็เคยเกิดขึ้นมาแล้ว แต่หากคิดว่าทำไมและเกิดขึ้นได้อย่างไรนั้น และทำไมจะต้องเกิดขึ้นเฉพาะในวันออกพรรษาเท่านั้น และจะต้องตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ ของลาวจึงเชื่อได้ว่าพญานาค มีสัญชาติเชื้อชาติ ลาว ถึงแม้จะเกิดขึ้นทางฝั่งไทยก็ตาม
นับว่าเป็นเรื่องเหลือเชื่อ และเป็นสิ่งมหัศจรรย์แห่งลุ่มแม่น้ำโขงที่แท้จริง เพราะลูกไฟประหลาดหรือที่เรียกว่า “บั้งไฟพญานาค” นี้เกิดขึ้นเฉพาะในเขต จ.หนองคายเท่านั้น ตามแนวแม่น้ำโขง ไม่มีขึ้นที่อื่นแม้จะอยู่ตามริมแม่น้ำโขงเช่นกัน จึงนับได้ว่าหนองคายกับเวียงจันทน์ สมัยก่อนนั้นการปกครองและการสร้างเมืองโดยพญานาค จึงได้รับอิทธิพลนี้เช่นกัน ถึงแม้ว่าจะถูกแยกการปกครอง และ แยกประเทศออกจากกัน แต่ในความเป็นจริงทางภูมิศาสตร์ก็เป็นพื้นที่เดียวกัน
ตำนานประเพณีต่าง ๆ ของคนแถบลุ่มแม่น้ำโขง จะเกี่ยวข้องกับพญานาคกันทั้งนั้น เพราะพญานาค หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ทางการเกษตร และความเป็นอยู่ของมนุษย์
ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นก็เพื่อ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พญานาค ก่อนว่ามีความเป็นมาอย่างไร และ สำคัญอย่างไร กับเมืองหนองคาย-เวียงจันทน์ และทำไม”บั้งไฟพญานาค”จึงได้เกิดขึ้นเฉพาะเขต จ.หนองคาย เท่านั้น และที่สำคัญจะเกิดขึ้นเฉพาะวันขึ้น 15 ค่ำ ที่ตรงกันระหว่าง ไทย-ลาว หากปีไหนแปดสองหนบั้งไฟพญานาค ก็จะเลื่อนไปขึ้นในวันพระลาว (15 ค่ำ ลาว) เป็นเรื่องที่ท้าทายให้มาดูมหัศจรรย์แห่งลุ่มแม่น้ำโขง บั้งไฟพญานาคว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำไมจึงต้องเกิดในวันดังกล่าวเท่านั้น ใครทำเพื่ออะไร และ ได้อะไรจากการกระทำดังกล่าว เชื่อว่าหลายคนยังต้องการไปพิสูจน์ความมหัศจรรย์นี้อยู่ (ตำนานพระพุทธศาสนา กล่าวว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปโปรดพระมารดา บนดาวดึงส์ ครบ 3 เดือน เมื่อเสด็จกลับโลกมนุษย์ พญานาคได้เนรมิตบันไดแก้ว เงิน ทอง เสด็จลงมา มนุษย์ เทวดา พญานาค ได้ฉลองสมโภชด้วยการจุดบั้งไฟถวาย โดยเฉพาะเหล่าพญานาคดังนั้นต่อมาเหล่าพญานาคจึงได้ถือเอาวันออกพรรษาเป็นวัน สำคัญ).........
หนองคาย – เวียงจันทน์
เมือง “พญานาค”
ใน สมัยพุทธกาล คราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จที่พระเชตุวันมหาวิหาร ใกล้กรุงสาวัตถี พระองค์ได้พิจารณาถึงพุทธโบราณ ประเพณีของพระพุทธเจ้าในอดีตที่เสด็จเข้านิพพานไปแล้ว พระสาวกทั้งหลายต่างก็นำเอาพระสารีริกธาตุไปฐาปนาไว้ในที่ที่เหมาะสม พอรุ่งเช้าพระอานนท์ ได้ถวายน้ำชำระพระโอษฐ์ และไม้สีฟันหลังเสร็จกิจ จึงได้ทรงผ้ากำพลสีแดง แล้วผินพระพักต์สูทิศตะวันออก เสด็จมาทางอากาศมีพระอานนท์ เป็นผู้ติดตามพร้อมคณะสงฆ์เสด็จประทับที่ ดอนก่อนเนา (เวียงจันทน์ และเสด็จที่หนองคันแท เสื้อน้ำ ที่เวียงจันทน์) แล้วเสด็จประทับที่โพนจิกเวียงงัว (ใต้ปากห้วยคุคำ บ้านปะโค) ได้ทอดพระเนตเห็น แลนคำ แลบลิ้น จึงทรงแย้มพระโอษฐ์ เมื่อพระอานนท์ ทูลลา พระองค์พญากรณ์ว่า ต่อไปบ้านเมืองนี้จะเจริญ แลนคำ นั้นก็คือ ปัพพาละนาค อยู่ภูเขาลวงริมน้ำบังพวน ต.พระธาตุบังพวน (ทุกวันนี้) หลังจากที่ ปัพพาละนาคทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าไปภูเขาลวงจนพระองค์กระทำภัตตกิจเสร็จสิ้น ได้ประทานผ้ากำพลผืนหนึ่งแก่ ปัพพาละนาค แล้วเสด็จไปฉันเพลที่ใกล้เวินหลอด ต่อมาเรียกเวินพล (บ้านโพนฉัน เมืองท่าพระบาท แขวงบลิคำไซ ประเทศ สปป. ลาว) จากนั้น สุกขหัตถีนาค เนรมิตเป็นช้างถือดอกไม้มาขอเอารอยพระพุทธบาทพระองค์ได้ย่ำรอยพระบาทไว้ที่ แผ่นหินใกล้น้ำชั่วเสียงช้างร้องได้ยิน (ปัจจุบันเรียกว่า พระบาทโพนฉัน) อยู่เมืองพระบาท ในลาว
พญานาคสร้างเมือง
ที่บ้านร่องสะแก ต.หนองคันแทเสื้อน้ำ(ในเวียงจันทน์)มีชายคนหนึ่งตัวใหญ่ดำ พุงใหญ่ ชื่อ“บุรีจันทน์ อ่วยล้วย” แต่เป็นผู้มีใจบุญสุนทาน จิตใจเป็นกุศล โอบอ้อมอารีแก่คนและสัตว์ ทำบุญให้ทานเป็นประจำ ในครั้งนั้นมีพระอรหันต์ 2 องค์ มาจากราชคฤห์นครอาศัยอยู่ที่นั้น คือ มหาพุทธวงศา อยู่ริมบึง อีกองค์ชื่อ มหาสัชชะตี อยู่ป่าโพนเหนือบึง บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เป็นผู้อุปัฏฐากมาตลอด ด้วยอำนาจบุญกุศลดังกล่าว ทำให้คนทั้งหลายในตำบลมีความรักนับถือ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย จึงพากันยกให้บุรีจันทน์ ฯ เป็นอาจารย์สั่งสอนศีลธรรม ศิลปหัตถกรรม การุกสิกรรม จนเป็นที่รักใคร่ของมนุษย์ เทวดา นาค จึงมีนาคคอยช่วยเหลือกิจกรรมอยู่เนือง ๆ โดยมีสุวรรณนาค ให้ความช่วยเหลือเนรมิตบ้านเมืองให้
อยู่มาวันหนึ่งหลังจากที่ชาวบ้านทำนา เมื่อข้าวออกรวง น้ำก็มาท่วมเสีย สุวรรณนาค จึงให้ เศรษฐไชยนาค เนรมิตเป็นคันแทกั้นน้ำเอาไว้ เพื่อให้ท่วมข้าว ที่นั้นคนจึงเรียกว่า หนองคันแทเสื้อน้ำ ต่อมาอีก สุวรรณนาค ให้นาคบริวาร 2 ตัว คือ เอกจักขุนาค และ สุคันธนาค แปลงเพศเป็นงูมาทำให้ข้าวในนาเสียหาย ชาวบ้านจึงกั้นรั่วเปิดช่องกลาง ดักไซไว้ ต่อมางูน้อย 2 ตัวที่มีเกล็ดเหมือนทองคำ มีหงอนแดงงาม เข้าไปอยู่ในไซ
ในคืนนั้น บุรีจันทน์ อ่วยล้วย ฝันว่ามีไส้ออกมา และมีลึงค์ยาวพันรอบเอวถึง 7 รอบเมื่อตื่นขึ้นมาก็กลัว ไปใส่บาตรพระอรหันต์ ท่านได้แนะนำให้เอาดอกไม้ใส่พานบูชาไว้ที่หัวนอน แล้วอุทิศกุศลถึงพญานาค พอสายก็มีคนนำงูน้อย 2 ตัว มาให้จึงได้ขังเอาไว้เพื่อที่จะได้นำไปให้ พ่อท้าวคำบาง ผู้เป็นใหญ่ แต่ยังไม่ได้นำไป พอตกกลางคืน สุวรรณนาค แปลงเป็นตาผ้าขาวมีศรีษะหงอก บอกว่า “งู 2 ตัวนั้นเป็นลูกจะมาขอคืน” เมื่อ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เห็นดั้งนั้นจึงถามว่า “ท่านเป็นคนถือศีลธรรมหรือ จึงนุ่งขาว ห่มขาว และทำไมบอกว่าเป็นลูกท่าน ข้าตั้งใจจะนำไปให้พ่อท้าวคำบาง เพราะเห็นว่ามีเกล็ดงามเหมือนทองคำ”
ตาผ้าขาวจึงบอกว่า“เป็น พญานาค ท่านอย่าเอาไปเลย สิ่งนี้ไม่เหมาะ ควรจะนำสิ่งอื่นไปหากท่าต้องการเราจะให้ตามใจท่าน” บุรีจันทน์ อ่วยล้วย คิดว่าคงจะเป็นตามที่เราฝัน และ การอุทิศถึงพญานาค จึงได้บอกไปว่า “เมื่อข้าต้องการเมื่อใด ท่านจงให้เมื่อนั้นเถิด” แล้วได้มอบ งูน้อย 2 ตัวไป ตาผ้าขาวจึงได้บอกแก่ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย ว่า “ให้ท่านขุดบ่อน้ำไว้ที่ริมบึงนอกบ้าน ถึงวันพระจะให้นาคน้อย 2 ตัวขึ้นมา ท่านประสงค์สิ่งใดจงเรียกจากนาคทั้ง 2” จากนั้นก็จากไป
หลังจากที่พญานาค เห็นว่าทุกอย่างเรียบร้อยแล้ว จึงได้ดลใจพ่อท้าวคำบาง และมเหสี ให้นำ นางอินสว่างลงรอด ให้เป็นบาทบริจาคแห่ง พระยาสุมิตร ธรรมวงศา เมืองมรุกขนคร และเมื่อนางอินสว่างลงรอด ทราบก็เกิดความโศกเศร้า บิดาเห็นว่าไม่พอใจ จึงพูดให้พระธิดากลัวว่า ถ้าเช่นนั้นจะนำเจ้าไปเป็นธิดาของ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย ที่เขาลือกันว่าพุงใหญ่ ตัวดำ เมื่อธิดาได้ยินแทนที่จะกลัว กลับมีความพอใจและหายโศกเศร้าจึงได้ปลูกเรือนหลวงขึ้น 2 หลัง ๆ ละ 5 ห้อง ไว้ระหว่างหาดทราย กับ บ่อน้ำของ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย แล้วให้พระธิดาไปอยู่นั้น แล้วตรัสสั่งให้ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เข้าเฝ้า เพื่อให้พระธิดาเห็นแล้วกลัว
ฝ่ายบุรีจันทน์ อ่วยล้วย เมื่อทราบดังนั้นจึงไปที่บ่อน้ำ ที่พญานาค สั่งให้ขุดแล้วเรียกนาคทั้ง 2 ให้มา นาคทั้ง 2 ก็มาตามประสงค์ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย จึงบอกว่าบัดนี้เราอยากได้นางอินสว่างลงรอด มาเป็นภรรยา ท่านทั้ง 2 จงกรุณาให้นางได้กับข้าด้วยเทอรญ
พญานาค ร่วมแรงแข็งขันช่วย บุรีจันทน์ อ่วยล้วย ในบรรดาพญานาค ที่มีอยู่ที่หนองคันแทเสื้อน้ำ นั้น สุคันธนาค นำขวดไม้จันทน์มาให้ พร้อมเนรมิตอ่างสำหรับอาบน้ำ พร้อมกระบวยสำหรับตักน้ำอาบ เอกจักขุนาค ให้ผ้าเช็ดตัว กายโลหนาค ให้ผ้านุ่ง แล้วก็บอกกันต่อไป ส่วน อินทจักขุนาค ให้แหวนธำรงค์ เศรษฐไชยนาค ให้ดาบศรีด้ามแก้ว สหัสสพลนาค ให้เสื้อรูปท้าวพันดา สิทธิโภคนาค ให้มงกุฎทองคำ ประดับแก้ว คันธัพนาค ให้สังวาลย์คำ ศิริวัฒนานาค ให้รองเท้าทองคำ อินทรศิริเทวดา ให้แว่นกรองทองคำ เทวดาผยอง ให้ต่างหูทองคำ ประดับด้วยแก้ว เทวดาวาสนิท ให้ผ้าเช็ดหน้า ประสิทธิสักกเทวดา ให้ขวดน้ำมันแก้วผลึกเมื่อ นาค เทวดา ให้เครื่องเหล่านี้แล้ว ก็พากันมาชุมนุมที่หาดทราย อันเป็นที่อยู่ของ สุคันธนาค และ เอกจักขุนาค ส่วน สุวรรณนาค หัตถีนาค ปัพพาละนาค ได้มาพร้อมกับ พญาสุวรรณนาค และ พุทโธปาปนาค พญาสุวรรณนาค ก็เนรมิตปราสาทที่สำเร็จด้วยไม้จันทน์ พร้อมอาสนะ เครื่องปูลาด เพดานพร้อมเสร็จ แล้วจึงพากันไปรับเอา นางอินสว่างลงรอด มาไว้ในปราสาท และ พญาสุวรรณนาค ยังได้เนรมิตท้องพระโรงหลวง 19 ห้อง ที่ทำด้วยแก่นจันทน์ ปัพพาละนาค เนรมิตปราสาทไม้มะเดื่อพอกทำภายนอก พุทโธปาปนาค เนรมิตสระพังสำหรับสรง สุคันธนาค และ หัตถีนาค เนรมิตโรงช้างไว้ ซ้าย-ขวา ในคุ้ม ในวัง นั้นมีทุกประการ เมื่อคนทั่วไป ไปจับต้องสิ่งที่พญานาค เนรมิตไว้ก็จะเกิดมีอันเป็นไปต่าง ๆ นานา เทวดาอินทรศิริ เจียมปาง รับอาสากับ พญานาค เข้าคุ้มครองรักษาวัตถุข้าวของในปราสาทโรงหลวงทั้งสิ้น แล้วให้ เทวดามัจฉนารี นำพานดอกไม้ไปอัญเชิญ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เข้ามาอยู่หลังจากที่ บุรีจันทน์ อ่วยล้วย ชำระร่างกาย แล้วประดับด้วยเครื่องที่นาคจัดกามาให้และเทวดาเนรมิตให้ เมื่อแต่งเสร็จปรากฏว่าร่างกายที่อ้วนใหญ่ ดำ ก็กลายเป็นหนุ่มรูปหล่อ งามสง่าเนื้อตัวหอมด้วยกลิ่นจันทน์ เทวดามัจฉนารี จึงได้อุ้มไปนอนไว้กับ นางอินสว่างลงรอด ทันใดนางก็ตื่นแล้วหลับต่อไปอีก หลังตื่นมาทั้งสองเกิดความรักใคร่และได้เป็นสามี ภรรยากันต่อมา บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เป็นเจ้าเมืองเมื่อบริวารทั้งหลายตื่นขึ้นมาเห็นความยิ่งใหญ่ จึงนำความไปแจ้งแก่ พ่อท้าวคำบาง และ พระมเหสีทั้งสอง มีความยินดี จึงให้เสนออำมาตย์จัดพิธีสมโภชยก บุรีจันทน์ อ่วยล้วย เป็นเจ้าบุรีจันทน์ พร้อมมอบบ้านเมืองให้ครอง โดยมี เทวดามัจฉนารี รักษาจ้าบุรีจันทน์ และข้า ทาสบริวาร ส่วน เทวดาอินทรศิริ ได้บอกกับ สุวรรณนาค ว่านาคตัวใดรักษาเมืองใดก็ให้ประจำอยู่ที่นั้น แล้วให้บอกกล่าวแก่ เงือก, งู ที่เป็นบริวาร ไม่ให้ทำร้ายผู้ใด ให้พากันรักษาพระพุทธศาสนา บ้านเมืองให้เจริญตั้งอยู่ในไตรสรณคมน์ เมื่อ สุวรรณนาค ได้รับคำสั่งดังนั้นจึงมีความยินดี ได้แต่งตั้งให้นาค 4 ตัว คอยดูแลเมือง ราษฎร ควรทำโทษจึงทำ โดยมี กายโลหนาค, เอกจักขุนาค, สุคันธนาค, อินทรจักขุนาค โดยมี เทวดาอินผยอง และ เทวดาวาสนิท เป็นผู้เที่ยวตรวจดูตามตำบลต่าง ๆ เมื่อเห็นคนกระทำผิดให้บอกแก่นาค ทั้ง 4 เป็นผู้ตัดสินลงโทษ เมืองที่เจ้าบุรีจันทน์ อ่วยล้วย ปกครอง คือเมือง สีสัตตนาคนหุต รวมถึงเมืองหนองคายด้วย เพราะในสมัยนั้น แม้แต่ พระธาตุบังพวน ต.พระธาตุบังพวน อ.เมืองหนองคาย เจ้าบุรีจันทน์ ก็เป็นคนสร้างครั้งแรกที่พระอรหันต์ นำพระบรมสารีริกธาตุ มาบรรจุโดยมีนาค คือ ปัพพาละนาค เป็นคนช่วยสร้างจนเสร็จ เมื่อพระอรหันต์นำเอาพระธาตุหัวเหน่า 29 องค์ ถวายพระยาจันทน์บุรี แล้วบรรจุในขวด ในขวดไม้จันทน์ที่ สุคันธนาค มอบให้ แล้วนำบรรจุลงในอุโมง ที่พระธาตุบังพวน
ในจังหวัดหนองคายบั้งไฟพญานาคเกิดขึ้นที่ไหนบ้าง
ในเขตอำเภอสังคม
บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภอสังคม
อ่างปลาบึก บ้านผาตั้ง อำเภอสังคม
ในเขตอำเภอศรีเชียงใหม่
วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่
ในเขตอำเภอเมือง
บ้านหินโงม ตำบลหินโงม อำเภอเมือง
หน้าสถานีตำรวจภูธรตำบลบ้านเดื่อ ตำลบบ้านเดื่อ อำเภอ เมือง หนองคาย
ในเขตอำเภอโพนพิสัย
ปากห้วยหลวง ตำบลห้วยหลวง อำเภอโพนพิสัย
ในเขตเทศบาลตำบลจุมพล หน้าวัดไทย วัดจุมพล วัดจอมนาง ตำบลจุมพล อำเภอ โพนพิสัย
หนองสรวง อำเภอโพนพิสัย
เวินพระสุก ท่าทรายรวมโชค ตำบลกุดบง อำเภอโพนพิสัย
บ้านหนองกุ้ง ตำบลกุดบง อำเภอโพนพิสัย
ในเขตกิ่งอำเภอรัตนวาปี
ปากห้วยเป บ้านน้ำเป ตำบลน้ำเป กิ่งอำเภอรัตนวาปี
วัดเปงจาเหนือ กิ่งอำเภอรัตนวาปี
ในเขตอำเภอปากคาด
บ้านปากคาดมวลชล ห้วยคาด อำเภอปากคาด
ในเขตอำเภอบึงกาฬ
วัดอาฮง ตำบลหอคำ อำเภอบึงกาฬ
ที่อื่น ๆ
นอกจาก 14 แห่งนี้ที่อื่นก็อาจจะมีขึ้นบ้าง นอกจากในลำน้ำน้ำโขงแล้วตามห้วย หนองคลองบึง สระน้ำ กลางทุ่งนาที่มีน้ำขัง แม้แต่บ่อบาดาลที่ชาวบ้านขุดเพื่อเอาน้ำมาใช้ ในเขตจังหวัดหนองคาย ก็มีบั้งไฟพญานาคขึ้นเป็นที่น่าอัศจรรย์
หมายเหตุ
ปี 2542 เกิดมากที่สุด ที่ชายตลิ่ง หน้าสถานี ตำรวจภูธรตำบลบ้านเดื่อ ห่างจาก อ.เมือง หนองคาย เพียง 15กม.
สรุปความแตกต่างระหว่างบั้งไฟพญานาคกับไฟจากการจุดพลุ
ข้อ จุดสังเกต ลักษณะลูกบั้งไฟพญานาค ลักษณะลูกไฟที่จุดจากพลุ
1. สีแดง แดงอมชมพูออกสีบานเย็น (สีพลอยทับทิมที่มีราคาแพงประดับหัวแหวน) แดงผสมหลายแบบ บางครั้งออกส้ม บางครั้งออกเหลือง
2. ความกลมกลืนของสีดวงไฟ สีเรียบสม่ำเสมอกลมกลืนกันทั้งลูกไฟ ลูกไฟสีจะไม่เรียบกลมกลืนกัน ใจกลางอาจจะออกสีน้ำเงินอ่อน ถัดมาสีส้มมักจะออกแดงเรื่อๆ
3. ความสว่าง ไม่ส่องแสงสว่างเท่าใดนัก คือไม่ให้เกิดความสว่างอย่างแสงไฟฟืนที่กำลังลุกโชน แต่จะสว่างเท่ากันตลอดเวลาจนกระทั้งดับ ส่องแสงสว่างจ้า ในขาขึ้น
4 แรงดันให้ลอย ไม่มีการพ้นเปลวไฟลงด้านล่าง เพื่อขับผลักตัวเองให้ลอย มีเปลวพ่นลงด้านล่างเพื่อผลักดันลูกไฟให้ลอยขึ้น แตกต่างกันชัดเจน
5 เห็นลูกไฟได้ที่ความสูงใด ถ้าลูกไฟลอยขึ้นด้วยความเร็วต่ำๆ จะเกิดลูกไฟที่ความสูงจากพื้นน้ำไม่เกิน 1 เมตร แล้วลอยขึ้นไป ลูกไฟจะเล็กลง ถ้าพุ่งขึ้นด้วยความเร็วสูงมากจะเกิดที่ความสูง 30-40 เมตร และจะเป็นดวงไฟที่ลูกโตตามมาก พุ่งไปเร็วมาก และสูงมาก เช่น ปี 2542 ลูกไฟพุ่งออกจากที่สำหรับบรรจุพลุ ทันทีที่พ้นปากกระบอกภาชนะ
6. การเห็นสีลูกบั้งไฟบางลูกสีแปรเปลี่ยนไปจากสีแดงบานเย็นได้ บั้งไฟบางลูกพุ่งขึ้นจากน้ำอย่างรวดเร็วมากจนมีน้ำกระจาย ละอองน้ำบางส่วนเกาะติดกลุ่มบั้งไฟขึ้นไปด้วยถ้าเกิดการลุกไหม้ตั้งแต่ระยะ ต่ำ ที่ความสูงประมาณ 1 เมตร ขณะที่มีน้ำเกาะติด จะเกิดแสงเป็นสีฟ้าสุกใส เมื่อลูกไฟพุ่งขึ้นสูงไประยะหนึ่งละอองน้ำที่เกาะจะหลุดจากบั้งไฟหมด สีของลูกไฟจะกลับคืนสู่สีปกติ คือ สีแดงอมชมพูออกสีบานเย็น ซึ่งปี 2542 เกิดบั้งไฟสีลักษณะนี้ ที่เขตเทศบาล อ. โพนพิสัย จำนวน 40-50 ลูก แต่ถ้าเกิดการลุกไหม้ที่ระยะสูงประมาร 15 เมตรขึ้นไปที่ไม่มีน้ำเกาะติด จะเกิดแสงสีแดงทับทิม ลูกไฟพลุจะมีการเปลี่ยนสีได้เนื่องจาก
1. ส่วนผสมของดินปืน
2. การอักดินปืน และ
3. และการใส่สีของช่างทำพลุ
7. การลอย จะลอยขึ้นในแนวดิ่งตั้งฉากกับพื้นโลก บางลูกลอยขึ้นในแนวเฉียง แต่ต้องเฉียงเป็นแนวเส้นตรง จะพุ่งขึ้นหลายแนว แล้วแต่ผู้จุดจะถือพลุชี้ไปทางใด แนวดิ่งก็ได้ หรือแนวเอียงแต่จะเฉียงเป็นเส้นโค้งไม่เป็นเส้นตรง
หนองคาย : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
วัดโพธิ์ชัย
เป็น พระอารามหลวง ตั้งอยู่ที่ถนนโพธิ์ชัย ใตเขตเทศบาลเมือง เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อพระใส พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านของชาวเมืองหนองคาย หลวงพ่อพระใสเป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสีสุก มีลักษณะงดงาม ตามตำนานเล่าว่า พระธิดา 3 องค์ของกษัตริย์ล้านช้างได้หล่อพระพุทธรูปขึ้น 3 องค์และขนานนามพระพุทธรูปตามพระนามของตนเอง คือ พระเสริมประจำพี่ใหญ่ พระสุกประจำคนกลางและพระใสประจำน้องคนสุดท้อง เดิมประดิษฐานที่เวียงจันทน์ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้อัญเชิญพระพุทธรูปทั้งสามลงเรือข้ามฝั่งมายังเมืองหนองคาย แต่เกิดพายุพัดพระสุกจมน้ำหายไป ส่วนพระเสริมและพระใสได้ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่หนองคาย จนในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้อัญเชิญพระเสริมลงมาประดิษฐานที่กรุงเทพฯ ส่วนพระใสยังคงประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย จังหวัดหนองคาย ทุกปีในวันเพ็ญกลางเดือน 7 ชาวเมืองหนองคายจะมีงานประเพณีบุญบั้งไฟบูชาพระใสที่วัดโพธิ์ชัยเป็นประจำ
พระอนุสาวรีย์และศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สร้าง ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ เมื่อครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเสด็จยกกองทัพมาที่ตำบลหนองบัวลำภู เมื่อ พ.ศ. 2117 เพื่อไปช่วยพระเจ้ากรุงหงสาวดี ที่กรุงศรีสัตตนาคนหุต (เมืองเวียงจันทน์) เนื่องจากขณะนั้นไทยเป็นเมืองขึ้นของกรุงหงสาวดี แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระประชวร พระเจ้ากรุงหงสาวดีจึงให้ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา สถานที่ดังกล่าวตั้งอยู่ในบริเวณสวนสาธารณะริมหนองบัว หน้าที่ว่าการอำเภอเมืองหนองบัวลำภู ในวันที่ 25 มกราคมถึงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ของ& |