www.AvisThailand.com
โทร. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
หน้าหลัก เกี่ยวกับราคา รู้จัก Avis ติดต่อ ลิงค์
ข้อเสนอล่าสุด บริการจองรถเช่า คู่มือเช่ารถ บริการ Avis เช่ารถระยะยาว รถเช่าพร้อมคนขับ บริษัททัวร์ Avis used Car
กรุงเทพฯ ชะอำ หัวหิน เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ ขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช
พัทยา พิษณุโลก ภูเก็ต สมุย สุราษฎร์ธานี ตรัง อุดรธานี  อุบลราชธานี  

NAKHONPATHOM

NAKHONPATHOM : General Information

      Nakhon Pathom is a small province located just 56 Kms. from Bangkok. The province features an ancient religious structure called “Phra Pathom Chedi”, the first religious landmark that signified the influx of Buddhism into Thailand. Nakhon Pathom is also renowned for its abundant fruits varieties and famous dishes.
avis thailand


            Formerly situated by the sea, the city prospered during the Dvaravati civilisation. According to archaeological findings, Nakhon Pathom was the first city to possess influences of Buddhism and Indian civilisations. From the Phra Pathom Chedi and other remains discovered in the city area, it is believed that the city was a centre of civilisation in that era. People of different races settled in Nakhon Pathom. However, a change in the course of the river caused a draught that forced the people to migrate and settle on the banks of river, and these communities developed into towns. The new town was called “Nakhon Chaisi” or “Sirichai”, leaving Nakhon Pathom deserted for hundreds of years until the reign of King Rama IV. While His Majesty was in monk hood, he travelled to Nakhon Pathom and found the Phra Pathom Chedi that he regarded to be the largest pagoda of all.

When King Rama IV ascended to the throne, he commanded that a bell shaped Chedi be built to cover the former Chedi. The surrounding area was also renovated and improved. He also commanded that a water canal be dug to facilitate commuting, which was called Chedi Bucha canal. During the reign of King Rama V, the construction of railways to the south began, at that time Nakhon Pathom was still a heavily forested area. King Rama V also commanded that the town be relocated from Tambon Thana, Amphoe Nakhon Chaisi, to the Phra Pathom Chedi area as it used to be. Nakhon Pathom has been there ever since.

During the reign of King Rama VI, a palace was built at Tambon Sanam Chan as a temporary residence on his travels and many roads were constructed. A large bridge was also built over the Chedi Bucha canal, which His Majesty named “Saphan Charoensattha”. Later, he commanded that the name of Nakhon Chaisi be changed to Nakhon Pathom, but the name of the prefecture was still called “Nakhon Chaisi” until the reign of King Rama VII when the calling of the prefecture was ended. Nakhon Chaisi is now one of the districts in Nakhon Pathom.

Nakhon Pathom covers an area of 2,168 square kilometres or 542,081.6 acres. It is divided into 7 administrative districts or Amphoe, they are: Amphoe Muang Nakhon Pathom, Amphoe Buddhamonthon, Amphoe Sam Phran, Amphoe Nakhon Chaisi, Amphoe Bang Len, Amphoe Kamphaeng Saen, and Amphoe Don Toom. Most of the areas are plains with no mountainous land, plateau are found in the west east of Amphoe Muang and Amphoe Kamphaeng Saen. The plains along the Tha Cheen River (Nakhon Chaisi River) are the location of Amphoe Nakhon Chaisi, Amphoe Sam Phran, and Amphoe Bang Len. These fertile lands provide agricultural area for people, thus most of the residents earn their living from agriculture; plantations, farming, growing food crops, and fruit orchards. Moreover, Nakhon Pathom is well known for pomelo, some call the Nakhon Pathom the sweet pomelo town.

Distances from Amphoe Muang to neighbouring Amphoe (districts) :

  1. Amphoe Nakhon Chaisi 14 Kms.
  2. Amphoe Buddhamonthon 20 Kms.
  3. Amphoe Sam Phran 21 Kms.
  4. Amphoe Kamphaengsaen 26 Kms.
  5. Amphoe Don Toom 31 Kms.
  6. Amphoe Bang Len 46 Kms.

NAKHONPATHOM : How to get there

Distances from Nakhon Pathom to neighbouring provinces :

Nonthaburi
Samutsakhon
Ratchaburi
Kanchanaburi
Suphanburi
65
48
43
112
160
Kms.
Kms.
Kms.
Kms.
Kms.

Car

By Car : From Bangkok, driving on the old route of Petchakasem Road (Highway No.4) passing Aom Noi, Aom Yai, Sam Phran to Nakhon Pathom or driving on a new route from Bangkok, passing Buddhamonthon, Nakhon Chaisi to Nakhon Pathom.

Bus

By Bus : From the Southern Bus Terminal on Boromrajajonnani Road there are two lines of buses.

Old Route (Bangkok-Aom Yai-Sam Phran-Nakhon Pathom), there are several lines of 2nd class air-conditioned buses: Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, and Bangkok-Bangli. There are 2 lines of non air-conditioned buses: Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, and Bangkok-Suphanburi.

New Route (Bangkok-Buddhamonthon-Nakhon Chaisi-Nakhon Pathom)

There are 2 lines of 1st class air-conditioned buses: Bangkok-Nakhon Pathom and Bangkok Dan Chang (blue bus) or taking the 2nd class of air-conditioned buses of Bangkok-Damnoen Saduak and Bangkok-Ratchaburi.

For more information, contact the Southern Bus Terminal on Boromrajajonnani Road. Non air-conditioned buses tel: 0 2434 5557-8 and Air-conditioned buses tel: 0 2435 1199.

Train

By Rail: The State Railway of Thailand operates daily trains to Nakhon Pathom. For more information contact Bangkoks Hualampong Railway Grand Station tel: 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 and the Thonburi Railway Station tel: 0 2411 3102.

 

NAKHONPATHOM : Activities

Buddhamonthon

This is an old religious site built by the government and the people to commemorate the 2500th year of the existence of Buddhism. Accessible by Phutthamonthon 4 Road, it occupies a large area with beautiful landscape and contains many interesting structures. A huge standing Buddha image cast in bronze gold measuring 15.8 metres marks the centre of the area. It is surrounded by four commemoratives sites concerning Lord Buddha's birth enlightenment, the first preaching sermon, and Nirvana (death). Other interesting places include a Buddhist museum, a hall keeping marble Pali canon and meditation halls.

Phra Pathom Chedi, the largest pagoda in Thailand. Phra Pathom Chedi is the official provincial symbol of Nakhon Pathom.

The present Phra Pathom Chedi was built during the reign of King Rama IV in 1853, under his royal command, the new Chedi was constructed to cover the former Chedi of which the shape was of an upside down bell shape with a Prang top. It is assumed that the former Chedi dates back to the year 539 AD due to the fact that the upside down bell shaped Chedi has a similar style to the Sanchi Chedi in India which was built in the reign of King Asoka. The construction of the new huge Chedi was completed in the reign of King Rama V in 1870 AD. In all, it took 17 years to build.

The completed Chedi is a circular one that features an upside down bell shape Chedi (Lankan style). The height from ground to a top crown is some 120.45 metres, and a total diameter at the base is 233.50 metres. The sacred Chedi houses Lord Buddhas relics. During the reign of King Rama VI, Wat Phra Pathom was renovated and later the temple became the royal temple of King Rama VI. Within the monastery compound, there are various interesting historical items, including the Phra Ruang Rodjanarith , an image of Buddha bestowing pardon, is enshrined in a vihara located to the North and in front of Phra Pathom Chedi. The casting of this Buddha image was casted during the reign of King Rama VI: the images head, hand, and feet were brought from Muang Srisatchanalai, Sukhothai.

Under royal command, a wax sculpture of the Buddha image was moulded. The casting process was held at Wat Phra Chettuphon in 1913. Later, the Buddha image was enshrined in the vihara, located on the north side at the top of a huge staircase. The King granted the name of Phra Rung Rodjanarith Sri-intharathit Thammamopas Mahavachiravuth Rachpuchaniyabopitr to this Buddha image. At its base, the relics of King Rama VI are housed. Additionally, there are:

Wat Phra Pathom Chedi Museum The museum is located at a lower level in the east of the church. It houses artefacts and historical remains which were discovered during the excavations in Nakhon Pathom including the coffin and funeral ritual set that were used in Ya-Leis cremation ceremony. Ya-Lei was a dog very dear to King Rama VI, that was shot and died. The King was much saddened and commanded to building of a monument for Ya-Lei as a token of his grief. The museum is open daily from 09.00-16.30 except Monday and Tuesday.

Then there is the National Museum of Phra Pathom Chedi This is also worth a visit. The National Museum of Phra Pathom Chedi is located to the south of the Pathom Chedi compound. It is a 2 storey modern Thai building that houses artefacts and historical remains, most of which dates back to Dvaravati period and were found during excavations in Nakhon Pathom. For more information, contact Phra Pathom Chedi Treasury and Preservation Office tel: 0 3427 0300, 0 3424 2500, Fax: 0 3424 2500. The museum is open daily from 09.00-16.00 except Monday, Tuesday and National Gazette holidays. The admission fee is 30 baht.

Phrabat Somdej Phra Monkut Klao Chaoyuhua Museum (Sanam Chan Palace)

Phrabat Somdej Phra Monkut Klao Chaoyuhua Museum (Sanam Chan Palace)
The palace was constructed by command of King Rama VI in the year 1907 when he was the Crown Prince. The construction of this palace was inspired by the renovation of Phra Pathom Chedi which were to the satisfaction of King Rama VI. The King saw that Nakhon Pathom was an ideal place for a leisurely stay due to the magnificent landscape.

Phrabat Somdej Phra Monkut Klao Chaoyuhua Museum (Sanam Chan Palace) Located in the town of Nakhon Pathom 2 Kms. west of Phra Pathom Chedi. It occupies an area of about 888 Rais (about 355 acres). The palace was constructed by command of King Rama VI in the year 1907 when he was the Crown Prince. Phraya Silprasit supervised the construction which, in the beginning, there were two halls: Phra Thinang Phiman Pathom and Phra Thinang Aphirom Reudi, both halls were granted names on August 27, 1911. Later, the Ratanasingh altar that was housed in Samakki Mukamat Hall was adorned with the royal umbrella on June 7, 1923.

The construction of this palace was inspired by the renovation of Phra Pathom Chedi which were to the satisfaction of King Rama VI. The King saw that Nakhon Pathom was an ideal place for a leisurely stay due to the magnificent landscape. Furthermore, King Rama VI also saw that Nakhon Pathom had the ideal terrain capable of deterring invasion by enemy forces using the river as their route. This resembles to the Rattanakosin Era year 112 incident, whereby French troops anchored their battleships at the mouth of the Gulf of Thailand blocking the way out and King Rama VI did not want this kind of incident to be repeated. He also intended to converted Sanam Chan Palace to be the heart of the second capital should a crisis again develop.

Sanam Chan Palace covers a vast area with a big court in the middle, surrounded by ring roads, with water canals on the outer perimeter. The beautiful halls that located in the middle of the Palace include:

Phiman Pathom Hall It is the first hall to be built in the Sanam Chan Palace. It is of European architecture, a 2-storey building in which King Rama VI resided before his ascension to the throne. There are several rooms in the hall including His majesty’s bedroom, bathroom, dining room, and dressing-room among others. In this hall, on a 2-metre teak bench, King Rama VI saw a miraculous vision of the Phra Pathom Chedi, later this hall was called “Phra Thinang Pathihan Tassanai” (the hall in which the King saw the miracle). At present, the bench is located in front of the Phutthaisawan Hall, located in the National Museum. As for the Phiman Pathom Hall, it now house a part of the Nakhon Pathom City Hall.

Apirom Reudi Hall It is a 2-storey hall located to the south of Phiman Pathom hall. At present it houses the offices of the Nakhon Pathom City Hall.

Vatchari Romya Hall This is a 2-storey hall. It was built in Thai architecture: multi-layered roof with colourful tiles on the turret; with a swan-like finial on the roof ridge, representing the head of garuda and small finials jutting out of the 2 corners of the gable. When King Rama VI accessed to the throne, it was his temporary residence. Presently, it is a part of the City Hall.

Samakki Mukmat Hall This is a Thai style hall. The building is raised 1-metre above the ground with 2 staircases running down on both sides. This hall is connected to the Vatchari Romya Hall by a door. It was a meeting hall for King Rama VI and also where he holds court. Furthermore, the hall was also used as a Khone theatre (Khone is a kind of Thai play performed by dancers wearing masks). When the Khone was performed, the performers could stage their performances on the surrounding 3 terraces as well as on the stage. There are two other theatres which are similar: Suan Misakawan theatre and Vachiravut School’s auditorium. At present, this hall is a meeting hall of Nakhon Pathom province; it is also used to hold other provincial ceremonies.

Phra Tamnak Chali Monkol-asna This is located nearby in the Southeastern direction. The 2-storey building is of European architecture, plastered in caramel-yellow, with roof tile in red. It was used as a temporary residence of King Rama VI when there were missions that involved with Suer Pah Unit.

Phra Tamnak Mari Ratchrat Banlang This is a 2-storey wooden building and painted in red The building is located opposite Phra Tamnak Chali Monkol-asna and are connected via a walk way. This walk way resembles a bridge with a roof, walls, and windowsThe path walk is similar to a bridge, decorated with roof, wall, and windows as tall as the entire height of the walls.

Phra Tamnak Tabkaeo This is a small building that used to be a temporary residence during winter time. At present, after a renovation it is a residence of the Palad Changwat of Nakhon Pathom. Within the building, there is a fireplace and on the wall is a black and white portrait of King Rama VI done on a slate of white marble. Around 450 Rais (180 acres) of land to the rear of the building is now the campus ground of the Silpakorn University.

Phra Tamnak Tabkwan This a teak building with a palm leaf roof. It is situated on the opposite side of the road from Phra Tamnak Tabkaeo, a little further away from Phra Tamnak Mari Ratchrat Banlang. Under the royal command of King Rama VI, the teak building was constructed to preserve traditional Thai architecture. It is also used for merit-making and some times classic Thai performances would also be held at this building.

Thevalai Kanaesuan or Phra Pikkanesh Shrine It was built to house the image of Phra Pikkanaesuan (or Ganesh), the Indian god of arts. The shrine is located in a large field, in front of the Sanam Chan Palace and is in the centre of the Palace compound. The shrine is deeply revered and is considered the sacred symbol of Sanam Chan Palace.

Ya-Lei Monument This is an actual size iron cast figure. The dog, Ya-Lei, was very close to the heart of King Rama VI. Ya-Lei was a hybrid dog born in the Nakhon Pathom prison. King Rama VI found it when he inspected the prison. Ye-Lei was very fortunate to have caught the eye of the King and was brought to the palace. Ya-Lei was a very smart and loyal dog. The King was very fond of Ya-Lei, so much so that Ya-Lei was envied, and was later shot by an envious person. King Rama VI was much saddened when Ya-Le passed away and commanded that a copper statue of Ya-Lei be cast and placed on a pedestal in front of Phra Tamnak Chali Monkol-asna. The King composed a poem for Ya-Lei that was inscribed below sculpture.

Additionally, there are residential buildings in the Sanam Chan Palace compound that housed the King’s staff. Some of the buildings are run-down while others are still in good condition. Chao Phraya Ramrakop’s residence, then called “Tab Charoen”, is one of the buildings still in good condition which, at present, houses the office of the Nakhon Pathom Public Health.

Sanam Chan Palace is the most favourite palace of King Rama VI, judging from his frequent visits to this palace. His stays at this palace are always at the same time as the military exercises of the Suer Pah Unit. The King would always inspect the Unit and also command the Unit’s exercise. At present, the buildings that were built to serve the Suer Pah Unit, such as the living quarters of the Suer Pah Cavalry Unit and Ranger Unit, and a Suer Pah hospital, can still be seen.

Currently, part of Sanam Chan Palace is under the care and responsibility of Silpakorn University and Nakhon Pathom Province. It is open to the public from Thursday to Sunday, 09.00-16.00. Admission for Thais: an adult fee is 30 Baht, a child fee is 10 Baht. Admission for foreigners is 50 Baht. In case of a group visit, prior approval from Silpakorn Universityis required. Contact can be made at Silpakorn University, Sanam Chan Palace, Nakhon Pathom, tel: 0 3424 4237, 0 3424 4236-7 Fax: 0 3424 4235

 

Wat Rai Khing

Wat Rai Khing is located in Tambon Rai Khing 32 Kms. from Bangkok. It is a civilian monastery built in 1791. Somdej Phra Phuttha Chan (Pook) named this temple after the district. When construction was completed, the Buddha image was brought from Wat Sala Poon and enshrined here, later the locals named the image Luang Pho Wat Rai Khing. The Buddha image is in the attitude of Buddha Subduing Mara. The Buddha image is of Chiang Saen style and is assumed to have been built by Lanna Thai and Lan Chang craftsmen. According to legend, this Buddha image was found floating in the river, so the townspeople lifted the Buddha image out of the water and enshrined the image at Wat Sala Poon.

Prince Vachirayan Varoros granted temple the name of Wat Mongkol Chinda Ram (with the words Rai Khing in parenthesis after the name) but the locals call the temple Wat Mongkol Chinda Ram Rai Khing, later it was shorten to Wat Rai Khing. The temple is well known among Thais, faithful Buddhists frequently pay a visit to Wat Rai Khing to pay homage to the sacred Buddha image. Every Saturdays and Sundays, food and fruits are sold in front of the temple. This temple is also renowned for its natural fish sanctuary, a habitat of hundreds of thousands of Sawai fish (big catfish-like freshwater fishes). Visitors can buy bread here to feed the fish.

Additionally, there is a museum that collects and displays various kinds of artifacts including ancient bowls, mural paintings, and old books, all of which were donated by the townspeople.

Getting there: there are 3 ways: from the intersection in front of Pho Kaew Police Station, from the intersection in front of the Rose Garden, and from the intersection at Buddhamonthon 5 Road. For more information on the museum, contact tel: 0 3431 1384, 0 3432 3056.

The Rose Garden

This tourist attraction is located on Petchakasem Road 32 Kms. from Bangkok. It is located adjacent to the Nakhon Chaisi River and occupies an area of 137.5 Rais (about 55 acres). There are a multitude of beautiful floral displays of great variety. Thai-style houses; parts of the area are hotel, lodges, and golf course. It also features an attractive Thai cultural show that commences daily in the afternoon. It is open daily from 08.00-18.00. An entrance fee to the garden is 10 Baht. Admission as well as shows fee cost 300 Baht for all. For more information call 0 2295 3261-4.

Getting there: there are two ways:

By Car: take Phetkasem Road, drive to Km.32 marker, a sign of the garden will be on the left;

By Bus: take a non-air conditioned bus line number 123 from Tha Chang, get off at the Rose Garden or take a bus from the Southern Bus Terminal (old route) on Petchakasem Road (Bangkok-Aom Yai-Sam Phran-Nakhon Pathom) or take a 2nd class air-conditioned bus of Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, Bangkok-Bang Li lines or take a non air-conditioned bus of Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, Bangkok-Suphan Buri lines.

Activities

Samphran Elephant Ground & Zoo, located on the Phetkasem Road at Km.30 marker, 1 kilometre before the Rose Garden. It occupies an area of 130 Rais (about 52 acres). There are various kinds of animals on display and show. There are daily elephant shows, elephant ride around the compound, elephant musical shows, crocodile-wrestling shows, and magic shows.

Getting there:

Activities
1. drive on Phetkasem Road to km.30, the Samphran Elephant Ground & Zoo sign will be on the left
2. drive on Pinklao - Nakhon Chai Si Road, then turn left onto Phutthamonthon 4 Road, and continue for 5 kilometres

By Bus: take a regular bus line number 123 from Tha Chang, get off at the Samphran Elephant Ground & Zoo or take a bus from the Southern Bus Terminal (old route) on Petchakasem Road (Bangkok-Aom Yai-Sam Phran-Nakhon Pathom) or take a 2nd class air-conditioned bus of Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, Bangkok-Bang Li lines or take the non air-conditioned buses of Bangkok-Nakhon Pathom, Bangkok-Ratchaburi, Bangkok-Suphanburi lines.

Open : Daily from 8 a.m. - 5.30 p.m.
Admission : Adult 500 baht, Child 300 baht.
Tel : 0 2295 2938-9, 0 3431 1971, 0 2429 0361-2
www.elephantshow.com

 

Don Wai Riverside Market

Don Wai Market, situated in Tambon Bang Kratuek. Behind the Don Wai temple is a market that still retains an appearance of a market dating back to King Rama VI period. The old building is made of wood and located on the banks of the Tha Chin River. Food vendors travel by boats to sell their goods here. Agricultural produce are sold daily from 07.00-18.00. Boats are available for rent for scenic river trips.

Getting there: you can get there via two routes:

1. From Bangkok, take the old Petkasem Road route, the entrance to Don Whai market is opposite the Elephant Show ground and Sam Phran Crocodile Farm. Take the route to Wat Rai Khing, when you reach the Wat Rai Khing, go on for another 10 Kms. passing also Wat Tha Put. Don Wai temple will be seen on the left.

2. From Pinklao-Nakhon Chaisi route (new route), take the Buddhamonthon V Road, there is a road sign to Wat Rai Khing, take that road, keep on going for another 4 Kms, you'll see the second sign to Wat Rai Khing, turn right here and go on for another 4.5 Kms, then take a left turn at the T-intersection that leads to Don Whai Market, it will on your left-hand side.

Cruising along the Tha Chin River is available at Don Wai Market by riding a converted cargo boat and a passenger boat. There are 2 cruise lines: 1) from Wat Don Wai passing Wat Rai Khing, and Wang Pla. 2) from Wat Don Wai passing Wat Rai Khing, Wang Pla, Wat Sanphet, Wat Decha, the police cadet academy, and the Rose Garden

Thai Human Imagery Museum

Located at Km.31 Borom Ratchonnani Road on the way to Nakhon Pathom, the museum houses life-like sculptures created by a group of Thai artists. hese breathtaking human figures with various characteristics and the replicas of important people are displayed in many sections such as the Great Buddhist Monks, Former Kings of the Chakri Dynasty, and One Side of Thai Life.

Open : Weekdays from 9 a.m. - 5.30 p.m. Holidays from 8.30 a.m. - 6 p.m.
Admission : 200 baht.
Tel : 0 3433 2109, 0 3433 2607, 0 3433 2061

Ancient City of Kamphaeng Saen

This is an ancient town that is worth visiting. It is located at Mu 5, Tambon Thung Kwang. The ancient town dates back to the Dvaravati period and is believed be as old as Muang Nakhon Chaisi, but is smaller in size. Situated 24 Kms. north of Nakhon Pathom town on Malaiman road, it can be reached by car. At present, it is used as a Boy Scout’s camp. The old town is believed to have been constructed by Nakhon Chaisi’s former rulers to control a trading route along canals and rivers to promote the town into a seaport-trading centre. The development as well as the deterioration of the two towns must have been almost at the same time. The interesting attractions of Ancient City of Kamphaeng Saen include unchanged ditches and earth dikes surrounding the ditches. Within the Ancient City area, there are small earthern mounds, ponds, and large trees that are homes to various kinds of birds.

Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus (Botanical Garden)

It is located on Malaiman route or 21 Kms. from Nakhon Pathom town. In the university compound, there are number of projects to educate farmers and the general public that include scaled-down projects such as an agricultural technology project, an irrigation system initiated along with the Royal project, an Entomological Park where various species of butterflies are housed, a pilot vegetable plantation plot, and Suan Saen Palm (garden of a hundred thousand palms), which collects various kinds of ornamental palms. For more information contact Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom tel: 0 3428 1655, 0 3435 1400, 08 9522 7952, Fax: 0 3428 1655 or http://naetc.eto.kps.ku.ac.th.

Wat Lampaya Floating Market

It is situated in front of Lampaya temple, on the Tha Cheen River. The floating market was initiated by the Tambon Lampaya Cultural Council and Lampaya temple. It is a centre of trade for fruits and vegetables as well as agricultural produces including rattan ware, woven cotton, dyed cotton, and inexpensive food. Local food like noodles with beef, Thai desserts, and steamed curried fish patty, are sold by local vendors who do their trade in their boats. In front of the temple is another haven for the various species of fish including big catfish-like fresh water fishes, black ear, and giant gourami. The cruise services along Tha Cheen River are also available. Several types of boats cater to the needs of the visitors, which include:

Ancient rowing boat: cruising along Tha Cheen River: leaving from Wat Lampaya, paying homage to Chao Mae Thabthim Shrine, the most revered shrine of Tambon Lampaya. The trip costs 20 Baht/person. It takes around 30 minutes;

Towed boat: a round trip along Tha Cheen River: departing from Wat Lampaya to Wat Sukvatanaram. Feeding fish can be done in front of Wat Lampaya. The trip costs 50 Baht/adult and 20 Baht/child.

Passenger boat: leaving from Wat Lampaya to Wat Bang Phra (Wat Luang Pho Pern). The trip takes two and a half hours. An adult fee is 50 Baht, a child fee is 20 Baht.

This floating market is open only on Saturdays and Sundays, from 06.00-15.00.

Getting there: the market can be reached several ways:
By Car: 1) take the Pinklao-Nakhon Chaisi route, turn right onto a bridge that leads to Salaya, continue driving, passing Mahidol University, then take a left turn in front of Buddhamonthon District Office, and then take a right turn at Buddhamonthon Police Station for another 24 Kms. Wat Lampaya is on the left. The trip takes around 45 minutes;
2) taking the Bangbuathong route, keep going for about 10 Kms., look for a sign that points to Bang Len, take a left turn there and proceed for 20 Kms., at the next intersection (before reaching the bridge crossing the Tha Cheen River), take a left turn and keep going for another 9 Kms. Wat Lampaya will be seen on the right.
By Bus: the Transport Company operates a Bangkok-Nakhon Pathom bus. Get off at Nakhon Pathom Market and then take a Song Taew (public pick-up truck) of Nakhon Pathom-Lampaya line, and get off at Wat Lampaya. Take a Song Taew, route Lampaya-Thung-Noi, from a market in Nakhon Pathom town and get off at Wat Lampaya.

There are also mini-van services available from the Southern Bus Terminal, near Kung Luang Restaurant. The van leaves every 30 minutes, from 05.00-18.00. A one-way fare is 40 Baht. For more information contact Wat Lampaya, Tambon Lampaya Cultural Council tel: 0 3439 1626, 0 3439 1985, 0 3439 2022.


Fish Sanctuary

Fish Sanctuary, located at Mu 1, Tambon Haui Plu. The place is a natural fish sanctuary, which is the habitat of various species of fish typical to the Tha Cheen River. The Fish Sanctuary can be reached via an access road 11 Kms. from the intersection at Nakhon Chaisi District Office.

Thai Farmers’ Lifestyle Museum

The house-cum- museum displays equipment, utensils, and tools, used in rice farming. Also within the house compound is a handicraft-training centre that trains townspeople to make various products from Water Hyacinth (Pak Tob Chawa).

It is a house of Uncle Reungchai and Aunt Payom Chamniyom. It is located at Ban Lan Laem, Mu 4, Tambon Wat Lamud. The house-cum- museum displays equipment, utensils, and tools, used in rice farming. Also within the house compound is a handicraft-training centre that trains townspeople to make various products from Water Hyacinth (Pak Tob Chawa).
To visit, please contact tel: 034 296-086 in advance.

Wat Klang Bang Kaew

It is an old temple located in Tambon Nakhon Chaisi. The temple houses a chapel, a vihara, and a principal Buddha image, all of which are very old and assumed, archaeologically, to have been built in the Ayutthaya period. There is a Phra Phuttha Vithinayok museum, exhibiting historical remains, artefacts, as well as utensils of the late monks: Luang Poo Boon (Phra Phuttha Vithinayok Boon Kanthachoti) and Luang Poo Perm (Phra Phuttha Vithinayok Perm Punyavasano). Various Buddha images, amulets, and sacred talismans of both late monks are also on display. On another side of the museum, Thai medicines, herbs, and utensils of craftsmen are displayed. It is open on Saturdays and Sundays, and national gazette holidays from 09.00-16.00. For more information, call: 0 3433 1462, 0 3433 2182.

Misiem Yip Intsoi Arts Garden

It is located at 38/9, Buddha-monthon VII Road. The entrance is opposite Rajavidhyalai College for which you have to go in another one kilometre. The Garden houses masterpieces of arts created by Madam Misiem Yip Intsoi for educational purposes. It is also available for organizing temporary exhibitions in an out-door gallery style and open-air art gallery for artists to exhibit their works. For more information, call 0 2213 2027.

Open Study Centre or College in the Palace

Open Study Centre or College in the Palace, located alongside Salaya-Bang Phasi Road, Tambon Salaya. The centre mobilises an ancient school of Thai arts called “Chang Sib Mu” or “The Ten Master Crafts”, the Thai arts that stem from local wisdom and expertise that Thais managed to retain from their forefathers. “Chang Sib Mu” means a group of craftsmen who creates art in the ancient Thai style by hand, such as: painting, carving, mould-casting, plastering, casting, puppet mastering, lathe mastering, upholstering, etc. The centre exhibits pieces of works of made by students of arts. Souvenirs made by the students are also on sale. For more information, please contact tel: 0 2431 3623, Fax: 02431 3624 or http://www.nfe.go.th/0415


Neun Phra or Neun Yai Hom

It is located in Tambon Don Yai Hom. Take the Petchakasem Road from Nakhon Pathom heading into Bangkok for about 5 Kms., you will arrive at a T-intersection, turn right onto Settakit 2 Road (Ban Paew-Don Yai Hom Road) and proceed for about 9 Kms., Neun Yai Hom is on your left and another 150 metres into a side road, located in the middle of the rice fields. Amphoe Ban Paew is an ancient site. In 1936, Phra Dhamma Vathi Kanachan (Luang Pho Ngeun), the abbot of Wat Don Yai Hom, dug up broken bricks from the base of the hill to build a church. Digging down further, he found two square green laterite pillars both about 4 metres high with a unique carving at the crown of the pillars that resembled pillar doors of the Sanchi Chedi of King Asoka Maharaj, and a laterite statue of a crouching deer, another Dvaravati period Buddha image, and a broken stone Sema Dhamma Chakra (Buddhist Wheel of Virtue used signify temple boundaries). The laterite stone pillars had a gap at the top for placing the Sema Dhama Chakra. This is the same style as those found at Phra Pathom Chedi, Wat Phra Ngam, Wat Phra Padhone, and Sanam Chan Palace. Presently, the pillars are at Wat Don Yai Hom, the laterite crouching deer and the Buddha images are on exhibit at the Bangkok National Museum. These discoveries confirm that this area was once an ancient temple and that the hill must have been a large Chedi that was in the temple compound dating back to the Dvaravati period, or earlier, roughly about 1,000 years ago. It is a revered and important historical site.

 

Phra Padhone Chedi

Another historical site located in Wat Phra Padhone Chedi temple, Tambon Phra Padhone. It is located 2 Kms. to the east of Phra Pathom Chedi down Petchakasem Road. The former shape of Phra Padhone Chedi was an upside down bell like other Chedi that was built in Dvaravati period. As Wat Phra Padhone Chedi is located in the middle of the ancient city of Nakhon Chaisi thus several artefacts were discovered during excavations. Some of the discovered items include Buddha images, heads of Buddha images and Buddha images in terra cotta, as well as a bronze figure of a garuda gripping naga under it’s claws, which is the official symbol of King Rama VI.

Wat Phra Mayn

It is situated at Ananta Uttayan Park, Tambon Huai Chorakae, to the south of Phra Pathom Chedi. It is an abandoned temple that nowadays resemble a large hill. Also discovered here are other artefacts which include bronze Buddha images as well as arms, thighs, and hands from a laterite Buddha image, Yaksa Deva (Thai mythical giant gods), Lotus Lion Deva, and stucco reliefs from the stupa ruins. At present, they are exhibited at the Bangkok National Museum and Wat Phra Pathom Chedi. During the reign of King Rama VI, Prince Damrong Rachanupap brought two large pairs of the Buddha’s Foot Print replica from Wat Phra Men and placed them on an outside corridor of Phra Pathom Chedi. During an excavation by the Fine Arts Department and the French archaeologists in 1938, remains which resembles an enormous stupa were discovered. It was a square-based stupa with very high-indented corners; the remains themselves were 12 metres high, with arched windows on four sides within which each houses a sitting laterite Buddha image. Later, the Buddha images were enshrined at Wat Phra Pathom Chedi. It is believed that these laterite Buddha images date back to the Dvaravati period, the same period as Phra Pathom Chedi, which is no less than 1,000 years old.

Neun Dhamma Sala

It is located at Dhamma Sala temple, Tambon Dhamma Sala, 6 Kms. to the east of Phra Pathom Chedi, on the South-side of Petchakasem Road. The physical appearance is that of a hill with a tunnel opening that is believed to connect Wat Phra Mayn to Wat Dhamma Sala. From hearsay, there are various valuable treasures like ancient pottery but which may not be taken out because there is a treasure guardian spirit watching over.

Neun Wat Phra Ngam

Situated at Phra Ngam temple, Tambon Nakhon Pathom, near Nakhon Pathom Railway Station. At this temple, during excavations, a large Chedi dating from Dvaravati era and artefacts including dilapidated sandstone Buddha images, Sema Dhama Chakra (Buddhist Wheel of Virtue used signify temple boundaries), statues of crouching deer, bronze Buddha images, and earthen Buddha images, which were made with unsurpassed craftsmanship. Prince Damrong Rachanuphab explained that the origin of the name “Wat Phra Ngam” (temple of magnificent Buddha images) was due to the beauty of the discovered earthen Buddha images, the temple was given such name. Some of them are housed at the National Museum and others at Phra Pathom Chedi. All of the discovered artefacts dates back to the Dvaravati period, which are the same age as those found around Phra Pathom Chedi.


Nakhon Pathom Palace

It is located to the east and not far from Wat Phra Pathom Chedi. At present, it houses the Nakhon Pathom Municipality. Prince Damrong Rachanuphab mentioned the reason for building this palace in the book “Tamnaan Wang Gao” (or Tales of the Old Palaces) that during the renovation of Phra Pathom Chedi, it was inconvenient to come and go from Bangkok to Nakhon Pathom within a day, thus staying overnight was obligatory. Under the royal command of King Rama IV, the palace was built near the Phra Pathom Chedi, similar in concept to those palaces in the Ayutthaya period whereby the King commanded that a palace be built on the perimeter of the temple housing the Phra Buddhabat (Buddha’s Foot Print). The palace was given the name “Phra Nakhon Pathom” and the canals of Mahasawas and Chedi Bucha were dug to facilitate commuting by boat between Bangkok and Nakhon Pathom.

Sireeuchachati Herb Garden

Situated in the Mahidol University, Salaya Campus, Nakhon Pathom Province, the Sireeruckachati Herb Garden serves as a collection and conservation center for study and research of medicinal plants available in Thailand. Within an area of 4 acres, plants are grown in grasshouses, decorative gardens and forest gardens. Each plant is accompanied by its names and usage. The garden is opened daily to public from 7.00 am. to 5.30 pm. For group tour that needs a tour guide, please contact: "The Committee on Growing Medicinal Plant Project; Faculty of Pharmacy, 447 Si Ayutthaya Road, Bangkok 10400; call 0-2644-8696 or visit www.pharmacy.mahidol.ac.th

Herbal Grove, Wat Plug Mai Lai

It is situated in Tambon Thung Khwang, 20 Kms. from Nakhon Pathom town on Malaiman road. An entrance to the temple can be seen on the left. More than 500 kinds of herbs abound in the grove which covers an area of 92 Rais (36.8 acres) and in a tranquil ambience. The temple offers various natural therapies including traditional massage, herbal sauna, herbal food, and meditation. For more information contact, Nakhon Pathom Sanitation Office tel: 0 3424 2029, 0 3425 1548 and Wat Plug Mai Lai tel: 0 3420 4044, 0 3420 4470.

Thai Soang village

It is located at Ban Ko Rad, Tambon Bang Pla, which is 9 Kms. south of Amphoe Bang Len, via the Bang Len-Don Toom route. The village is home to Thai Soang or Thai Soang Dum (Thai Soang usually wear black dresses) or Lao Soang, who migrated from Ban Nong Prong, Amphoe Khao Yoi, Petchaburi, who have a distinct culture and tradition of their own. The village also features interesting handicraft like weaving and rattan ware.


Kasetsart Uninversity, Kamphaeng Saen Campus (Botanical Garden)

Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus (Botanical Garden), located on Malaimaen route or 21 Kms. from Nakhon Pathom town. In the university compound, there are number of projects to educate farmers and the general public that include scaled-down projects such as an agricultural technology project, an irrigation system initiated along with the Royal project, an Entomological Park where various species of butterflies are housed, a pilot vegetable plantation plot, and Suan Saen Palm (garden of a hundred thousand palms), which collects various kinds of ornamental palms. For more information contact Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom tel: 0 2942 8010 ext. 3104.


นครปฐม : ข้อมูลทั่วไป

ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวงาม ข้าวหลามหวานมัน
สนามจันทร์งามล้น พุทธมณฑลคู่ธานี พระปฐมเจดีย์เสียดฟ้า

นครปฐมจังหวัดเล็กๆ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ ด้วยระยะทางประมาณ 56 กิโลเมตร เป็นเมืองแห่งปูชนียสถานเก่าแก่ที่สำคัญคือ“พระปฐมเจดีย์” ซึ่งนับเป็นร่องรอยแห่งแรกของการเผยแพร่อารยธรรมพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทย ทั้งยังเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์มากมายไปด้วยผลไม้และอาหารขึ้นชื่อนานาชนิด

เมืองนครปฐมเดิมตั้งอยู่ริมทะเลเคยเป็นเมืองเก่าแห่งหนึ่งซึ่งเจริญ รุ่งเรืองมากในสมัยทวาราวดีเพราะเป็นราชธานีที่สำคัญ มีหลักฐานเชื่อว่าศาสนาพุทธและอารยธรรมจากประเทศอินเดียเผยแพร่เข้ามาที่ นครปฐมเป็นแห่งแรก โดยสันนิษฐานจากองค์พระปฐมเจดีย์และซากโบราณวัตถุต่างๆ ที่ค้นพบที่จังหวัดนครปฐม นครปฐมจึงเป็นศูนย์กลางของความเจริญ มีชนชาติต่างๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นจำนวนมาก ต่อมาเกิดความแห้งแล้งขึ้นในเมืองนครปฐม เพราะกระแสน้ำที่ไหลผ่านตัวเมืองเปลี่ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตั้งหลักแหล่งอยู่ริมน้ำ และสร้างเมืองใหม่ขึ้น ชื่อว่า “นครชัยศรี” หรือ “ศิริชัย” นครปฐมจึงกลายเป็นเมืองร้างมาหลายร้อยปี

จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่ยังทรงผนวชได้เสด็จธุดงค์ไปพบพระปฐมเจดีย์และ ทรงเห็นว่าเป็นเจดีย์องค์ใหญ่ไม่มีที่ไหนจะเทียบเท่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ก่อเจดีย์แบบลังกาครอบเจดีย์องค์เดิมไว้ ทรงปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ให้มีสภาพดี และโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองเจดีย์บูชา เพื่อให้การคมนาคมสะดวกขึ้น ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เริ่มทำทางรถไฟสายใต้ แต่ตอนนั้นเมืองนครปฐมยังเป็นป่ารกอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองจากตำบลท่านา อำเภอนครชัยศรี มาตั้งที่บริเวณพระปฐมเจดีย์เหมือนที่เคยตั้งมาแล้วในสมัยโบราณ เมืองนครปฐมจึงอยู่ต่อมาจนตราบเท่าทุกวันนี้

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังขึ้นที่ตำบลสนามจันทร์เป็นที่เสด็จแปรพระราชฐาน และโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย ให้สร้างสะพานใหญ่ข้ามคลองเจดีย์บูชาขึ้น ทรงพระราชทานนามว่า “สะพานเจริญศรัทธา” ต่อมาให้เปลี่ยนชื่อเมือง “นครชัยศรี” เป็น “นครปฐม” แต่ชื่อมณฑลยังคงเรียกว่า “มณฑลนครชัยศรี” อยู่ จนกระทั่งยุบเลิกในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปัจจุบันนครชัยศรีมีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งขึ้นอยู่กับจังหวัดนครปฐม

จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ประมาณ 2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ คือ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอพุทธมณฑล อำเภอสามพราน อำเภอนครชัยศรี อำเภอบางเลน อำเภอกำแพงแสน และอำเภอดอนตูม พื้นที่ทั่วไปของจังหวัดนครปฐมเป็นที่ราบลุ่ม ไม่มีภูเขา มีที่ดอนเฉพาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอเมืองและอำเภอกำแพงแสนเท่านั้น ส่วนที่ราบลุ่มบริเวณลุ่มน้ำท่าจีน (แม่น้ำนครชัยศรี) ได้แก่ ท้องที่อำเภอนครชัยศรี อำเภอสามพราน และอำเภอบางเลน เป็นที่อุดมสมบูรณ์ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรรม การทำสวน ทำไร่ และสวนผลไม้ โดยเฉพาะการปลูกส้มโอ ซึ่งนำชื่อเสียงมาสู่จังหวัดนครปฐมจนได้ชื่อว่าเป็นเมืองส้มโอหวาน

อาณาเขต

ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสมุทรสาคร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพฯ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดราชบุรี

หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญ

  1. ตำรวจภูธรภาค 7 โทร. 0 3424 3751-2, 0 3424 1426
  2. ที่ทำการไปรษณีย์นครปฐม โทร. 0 3425 1986, 0 3424 2356
  3. เทศบาลเมืองนครปฐม โทร. 0 3425 3850-4
  4. โทรศัพท์จังหวัดนครปฐม โทร. 0 3425 1070, 0 3424 2356
  5. ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐม โทร. 0 3434 0011-2
  6. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย โทร. 0 3433 2061, 0 3433 2067, 0 3433 2109
  7. โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม โทร. 0 3425 4150-4
  8. สถานีเดินรถโดยสารประจำทาง โทร. 0 3425 1155, 0 3451 4438
  9. สถานีตำรวจภูธร จังหวัดนครปฐม โทร. 0 3424 2886, 0 3451 1560
  10. สถานีรถไฟจังหวัดนครปฐม โทร. 0 3424 2305
  11. สำนักงานขนส่งนครปฐม โทร. 0 3424 1378
  12. สำนักงานจังหวัดนครปฐม โทร. 0 3424 3811, 0 3425 8678
  13. ททท. สำนักงานกาญจนบุรี โทร. 0 3451 2500, 0 3462 3691
  14. ศูนย์การท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการ จังหวัดนครปฐม โทร. 0 3434 0065-6
  15. หอการค้าจังหวัดนครปฐม โทร. 0 3425 4231, 0 3425 4647, 0 3421 0230
  16. ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155
  17. ตำรวจทางหลวง โทร. 1193

Link ที่น่าสนใจ

ททท.สำนักงานสมุทรสงคราม
http://www.tourismthailand.org/samutsongkhram
ข้อมูลตำบลและสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
http://www.thaitambon.com
สำนักงานจังหวัดนครปฐม
http://www.nakhonpathom.go.th

นครปฐม : ข้อมูลการเดินทาง

การเดินทางจากกรุงเทพฯไป จ.นครปฐม
รถยนต์
จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางสายเก่า สายถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ผ่านอ้อมน้อย อ้อมใหญ่ สามพราน ไปจนถึงจังหวัดนครปฐม หรือ เส้นทางสายใหม่ จากกรุงเทพฯ ถนนบรมราชชนนี ผ่านพุทธมณฑล นครชัยศรี ไปจนถึงตัวจังหวัดนครปฐม

รถไฟ
การรถไฟแห่งประเทศไทย มีบริการรถไฟไปจังหวัดนครปฐมทุกวัน วันละหลายเที่ยว ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สถานีรถไฟหัวลำโพง โทร. 1690, 0 2220 4334, 0 2220 4444 และที่สถานีรถไฟธนบุรี โทร. 0 2411 3102 หรือ www.railway.co.th

รถโดยสารประจำทาง
การเดินทางไปจังหวัดนครปฐม สามารถเดินทางได้จากสถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี ตั้งแต่เวลา 05.30-23.15 น. ซึ่งมีรถโดยสารประจำทางปรับอากาศวิ่ง 2 เส้นทาง คือ

สายเก่า (กรุงเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) มีรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 2 สายกรุงเทพฯ-นครปฐม, กรุงเทพฯ-ราชบุรี, กรุงเทพฯ-บางลี่
สายใหม่ (กรุงเทพฯ-พุทธมณฑล-นครชัยศรี-นครปฐม) สามารถใช้บริการรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 1 สายกรุงเทพฯ-นครปฐม, กรุงเทพฯ-ด่านช้าง(สีน้ำเงิน) หรือ รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 สายกรุงเทพฯ-นครปฐม, สายกรุงเทพฯ-ดำเนินสะดวก, กรุงเทพฯ-เพชรบุรี ตั้งแต่เวลา 05.30-23.00 น. รถอกทุก 15 นาที สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี โทร. 0 2435 1199, 0 2435 5605, 0 2434 7192 และ นครปฐมทัวร์ กรุงเทพฯ โทร. 0 2435 4971 นครปฐม โทร. 0 3424 3113 หรือที่เว็บไซต์ www.transport.co.th

การเดินทางจากอำเภอเมืองนครปฐมไปยังอำเภอต่าง ๆ

  1. อำเภอนครชัยศรี 14 กิโลเมตร
  2. อำเภอพุทธมณฑล 20 กิโลเมตร
  3. อำเภอสามพราน 21 กิโลเมตร
  4. อำเภอกำแพงแสน 26 กิโลเมตร
  5. อำเภอดอนตูม 31 กิโลเมตร
  6. อำเภอบางเลน 46 กิโลเมตร

การเดินทางจากนครปฐมไปยังจังหวัดใกล้เคียง

  1. ราชบุรี 41 กิโลเมตร
  2. สมุทรสาคร 48 กิโลเมตร
  3. นนทบุรี 65 กิโลเมตร
  4. สุพรรณบุรี 105 กิโลเมตร
  5. กาญจนบุรี 112 กิโลเมตร


นครปฐม : วัฒนธรรมประเพณี

านนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิง

ประวัติ / ความเป็นมา
วัดไร่ขิง ตั้งอยู่ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 32 กิโลเมตร เป็นวัดราษฎร สร้างเมื่อ พ.ศ.2394 โดยเรียกชื่อวัดตามตำบลที่ตั้ง วัดนี้สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) และผู้มีจิตศรัทธาในบริเวณนั้น และบริเวณใกล้เคียง
ต่อมาเมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้เสด็จตรวจเยี่ยมวัดต่างๆ ในเขตอำเภอสามพรานและได้ทรงทราบความเป็นมาของวัดไร่ขิง จึงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดมงคลจินดาราม” และมีคำว่า “ไร่ขิง” อยู่ในวงเล็บต่อท้ายชื่อ ต่อมาวงเล็บกร่อนหายไปเหลือแต่คำว่า ไร่ขิง ต่อท้ายเท่านั้น วัดนี้จึงมีชื่อเป็นที่รู้จักกันว่า วัดมงคลจินดารามไร่ขิง แต่ชาวบ้านชอบเรียกว่า “วัดไร่ขิง”
หลวงพ่อวัดไร่ขิง เป็นพระพุทธรูปโลหะ ปางมารวิชัย มีหน้าตักกว้าง 4 ศอก 2 นิ้วเศษ สูง 14 ศอก 16 นิ้วเศษ มีลักษณะแบบเชียงแสน ก่อนที่จะถูกอัญเชิญมาเป็นพระประธานในพระอุโบสถ วัดไร่ขิงนั้น ท่านลอยน้ำมา และประชาชนได้อัญเชิญขึ้นจากนี้ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 (วันสงกรานต์) โดยมีเรื่องเล่าว่า ก่อนที่จะอัญเชิญท่านขึ้นจากน้ำสู่ปะรำพิธีในวันนั้นได้เกิดเหตุมหัศจรรย์ คือ วันนั้นเป็น วันที่แดดกำลังกล้าอากาศร้อนและอบอ้าวกว่าวันอื่นๆ แต่เมื่ออัญเชิญหลวงพ่อเสร็จก็เกิดฝนตกหนัก และมีฟ้าคะนอง ชาวบ้านทุกคนจึงปิติว่า “หลวงพ่อจักทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขดับทุกข์ร้อน คล้ายฝนทำให้พื้นที่และหมู่แมกไม้เกิดความชุ่มฉ่ำ” ดังนั้น กิตติศัพท์ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อ ทำให้ประชาชนเกิดความเลื่อมใสศรัทธามาก ในแต่ละปีจึงมีประชาชนจากทั่วสารทิศเดินทางมานมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิงอย่าง มากมาย

กำหนดงาน
งานนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิง จัดขึ้นตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ ถึงวันแรม ๓ ค่ำ เดือน ๕ สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่ www.tat.or.th/festival

กิจกรรม / พิธี
การเปิดงานนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิง จะเปิดงานในวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๕ โดยมีพิธีการ คือ เวลาประมาณ ๕.๔๕ น. เจ้าอาวาสพร้อมด้วยกรรมการมาพร้อมกันในพระอุโบสถ โดยประธานกรรมการจะเป็นผู้ไปจุดธูปเทียนเพื่อบูชาหลวงพ่อ
เวลาประมาณ ๖.๐๐ น. มีการจุดพลุสัญญาณ ๖ ครั้ง เพื่อเปิดงาน

นครปฐม : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ

ตลาดดอนหวาย

ตั้ง อยู่ที่ตำบลบางกระทึก หลังวัดดอนหวาย เป็นตลาดที่ยังเหลือสภาพตลาดเก่าในอดีตสมัยรัชกาลที่ 6 ให้เห็นลักษณะตัวอาคารเป็นอาคารไม้เก่า ๆ ที่อยู่ติดริมแม่น้ำท่าจีน มีพ่อค้า แม่ค้า พายเรือนำสินค้า และอาหารมาจำหน่ายในบริเวณวัดดอนหวาย มีตลาดนัดสินค้าทางการเกษตรที่วัดดอนหวายทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น. และมีเรือบริการนำเที่ยวชมทิวทัศน์ของสองฝั่งแม่น้ำท่าจีน

นอกจากนั้นที่ตลาดดอนหวายมีบริการเรือล่องแม่น้ำท่าจีนด้วยเรือเอี้ยมจุ้น และเรือกระแชง โดยแบ่งออกเป็น 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางแรก จากวัดดอนหวาย ผ่านวัดท่าพูด วัดไร่ขิง และวังปลา ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 15นาที เส้นทางที่สอง จากวัดดอนหวาย ผ่านวัดไร่ขิง วังปลา ลอดใต้สะพานโพธิ์แก้ว ร.ร.ภปร.ราชวิทยาลัย วัดสรรเพชร วัดเดชานุสรณ์และสวนสามพราน ใช้เวลา 2 ชั่วโมง แบ่งออกเป็นรอบๆ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศรีสวัสดิ์ย้อนยุค อาจารย์สวัสดิ์ โทร. 0 3439 3637, 08 1448 8876, 08 1659 5805 มิตรสายชล โทร. 08 1446 8556, 08 4146 5616, 08 1482 1107 เรือรุ้งฟ้า โทร.08 1241 8027, 08 1196 3372, เรือโชคดี โทร. 08 1241 8027, 08 1196 3327

การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
รถยนต์
เส้นทางแรก จากกรุงเทพฯ สามารถใช้เส้นทางสายถนนเพชรเกษม (สายเก่า) ทางเข้าตลาดดอนหวายจะอยู่เยื้องกับทางเข้าของลานแสดงช้าง และฟาร์มจระเข้สามพราน ใช้ทางเข้าทางเดียวกับวัดไร่ขิงแล้วตรงไปประมาณ 10 กิโลเมตร ผ่านวัดไร่ขิง วัดท่าพูด ตลาดดอนหวายจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ
เส้นที่สอง จากถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี (สายใหม่) เข้าทางพุทธมณฑล สาย 5 ซ้ายมือมีป้ายบอกทางไปวัดไร่ขิง เข้าไปประมาณ 4 กิโลเมตร ไม่ไกลนักจะมีป้ายวัดไร่ขิง ป้ายที่ 2 ให้เลี้ยวขวาเข้าไปประมาณ 4.5 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายตรงทางสามแยกไปตลาดน้ำดอนหวาย ตลาดจะอยู่ทางซ้ายมือ

รถโดยสารประจำทาง นั่งรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 2 จากสถานีขนส่งสายใต้ สายเก่า (กรุงเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) กรุงเทพฯ-ราชบุรี กรุงเทพฯ-บางลี่ กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี ลงปากทางเข้าวัดไร่ขิงแล้วต่อรถโดยสารประจำทางเข้าไป ตลาดดอนหวายจะอยู่เลยวัดไร่ขิงไปประมาณ 10 กิโลเมตร


ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน

ตั้ง อยู่ริมถนนเพชรเกษมกิโลเมตรที่ 30 ก่อนสวนสามพราน 1 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 130 ไร่ มีการแสดงช้างประกอบเสียง การจับจระเข้ด้วยมือเปล่า และการแสดงมายากลทุกวัน เปิดให้เข้าชมตั้งแต่เวลา 09.00-17.30 น. อัตราค่าเข้าชม คนไทย ผู้ใหญ่ 80 บาท เด็ก 40 บาท ชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 500 บาท เด็ก 250 บาท มีบริการนั่งช้างลอดน้ำตก ถ่ายรูปกับเสือ ให้อาหารปลาสวายยักษ์นับหมื่นตัว สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3431 1971, 0 2429 0361-2 สำนักงานกรุงเทพฯ โทร. 0 2295 2938-9 อีเมล์ samphran@ksc.th.com เว็บไซต์ www.elephantshow.com

ตารางการแสดง
-การแสดงการจับจระเข้ด้วยมือเปล่า เริ่มเวลา 12.45 น., 14.20 น., 16.20 น. (วันจันทร์-เสาร์) วันอาทิตย์เพิ่มรอบ 11.00 น., 16.05 น., 16.50 น.
-การแสดงมายากล เริ่มเวลา 13.15 น., 15.00 น. (วันจันทร์-เสาร์) วันอาทิตย์เพิ่มรอบ 11.30 น.
-การแสดงช้างประกอบเสียง เริ่มเวลา 13.45 น., 15.30 น. (วันจันทร์-เสาร์) วันอาทิตย์เพิ่มรอบ 12.00 น.
-ขี่ช้างท่องอุทยาน วันจันทร์-เสาร์ 09.00-13.00 น. วันอาทิตย์ 09.00-11.00 น.

การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
รถยนต์
1. ใช้เส้นทางสายถนนเพชรเกษม ประมาณกิโลเมตรที่ 30 ก็จะพบป้ายของลานแสดงช้าง และฟาร์มจระเข้สามพรานอยู่ทางซ้ายมือ
2. ใช้เส้นทางสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 4 เลี้ยวขวาเข้าถนนเพชรเกษม ประมาณ 5 กิโลเมตร
ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพรานอยู่ทางซ้ายมือ
รถโดยสารประจำทาง
1.มีรถประจำทางสาย 123 (รถธรรมดา) ออกจากท่าช้าง สุดสายที่ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน
2.ปอ พ.12 จากอนุสาวรีย์ชัย ฯ ผ่านด้านหน้าริมถนนเพชรเกษม
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 2 จากสถานีขนส่งสายใต้ เส้นสายเก่า ถนนเพชรเกษม (กรุงเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม), กรุงเทพฯ-ราชบุรี, กรุงเทพฯ-บางลี่, กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี


สวนสามพราน

เป็น สถานที่พักผ่อนตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 32 กิโลเมตร อยู่ติดแม่น้ำนครชัยศรี มีเนื้อที่ประมาณ 137.5 ไร่ ผสมผสานความเด่นทางด้านวัฒนธรรมกับธรรมชาติและสุขภาพ หลอมรวมภูมิปัญญาไทยเข้าสู่กระบวนการรักษาลักษณะไทยอย่างดี จนได้รับรางวัลแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการนันทนาการ ประจำปี 2551 ภายในจัดแต่งเป็นสวนดอกไม้นานาชนิด หมู่บ้านไทย และบางส่วนเป็นโรงแรม ที่พัก และสนามกอล์ฟ นอกจากนี้ในช่วงตั้งแต่เวลา 10.00-12.00 น. มีกิจกรรมวิถีไทย 12 กิจกรรม ให้เลือกทดลองทำด้วยตัวเอง เช่น การปั้นเครื่องปั้นดินเผา, การร้อยมาลัย, การแกะสลักผลไม้ ฯลฯ ค่าใช้จ่ายคนละ 200 บาท ส่วนในช่วงบ่ายเป็นการแสดงทางวัฒนธรรมพื้นบ้านให้ชมเป็นประจำทุกวัน สวนสามพรานเปิดให้เข้าชมตั้งแต่เวลา 08.00-18.00 น. อัตราค่าผ่านประตูเข้าชมสวน ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท ค่าบัตรผ่านประตูรวมค่าเข้าชมการแสดงต่าง ๆ 450 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2295 3261-4, 0 3432 2588-93 หรือที่เว็บไซต์ www.rosegardenriverside.com E-mail: arrut@rosegardenriverside.com

การเดินทาง
สามารถใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
รถยนต์
1.ใช้เส้นทางสายถนนเพชรเกษม ประมาณกิโลเมตรที่ 32 ก็จะพบป้ายของสวนสามพรานอยู่ทางซ้ายมือ
2.ใช้เส้นทางสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 7 เพื่อตัดเข้าถนนเพชรเกษม สวนสามพรานจะอยู่บนถนนเพชรเกษมห่างไปอีก 6 กิโลเมตร ทางฝั่งซ้ายมือ
รถโดยสารประจำทาง มีรถประจำทางสาย 123 (รถธรรมดา) ออกจากท่าช้าง มาลงที่หน้าลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน หรือนั่งรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 2 จากสถานีขนส่งสายใต้ สายเก่า (กรุงเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) กรุงเทพฯ-ราชบุรี กรุงเทพฯ-บางลี่ กรุงเทพฯสุพรรณบุรี หรือ รถประจำทางปรับอากาศไมโครบัสสาย 12 จากสถานีขนส่งหมอชิต 2 มาลงด้านหน้าสวนสามพราน

วัดไร่ขิง

ตั้ง อยู่ที่ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน บนฝั่งแม่น้ำท่าจีนหรือแม่น้ำนครชัยศรี ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 32 กิโลเมตร วัดไร่ขิงนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ทรงพระราชทานนามว่า "วัดมงคลจินดาราม (ไร่ขิง)" แต่ชาวบ้านเรียกกันเต็ม ๆ ว่า "วัดมงคลจินดารามไร่ขิง" จนกระทั่งเหลือแต่ชื่อ วัดไร่ขิง อาณาเขตวัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เขตศาสนสถานและเขตสาธารณสถานซึ่งเป็นพื้นที่ของโรงเรียนและโรงพยาบาลมีถนน ตัดผ่านกลาง วัดนี้เป็นวัดราษฎร์ ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างเมื่อใด อาศัยจากคำบอกเล่าว่า สร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2394 สมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์(พุก) รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา เมื่อสร้างวัดเสร็จได้อัญเชิญพระพุทธรูปมาจากวัดศาลาปูน (ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นฝีมือช่างสมัยไทยล้านนาและล้านช้าง ตามตำนานเล่าว่าลอยน้ำมาและอัญเชิญขึ้นไว้ที่วัดศาลาปูน) ตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยามาประดิษฐานไว้เป็นพระประธานวัด ชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง” เป็นพระพุทธรูปเนื้อทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัยแบบประยุกต์ หน้าตักกว้าง 4 ศอก 2 นิ้ว สูง 4 ศอก 16 นิ้วเศษ ลักษณะผึ่งผายคล้ายสมัยเชียงแสน พระหัตถ์เรียวงามตามแบบสุโขทัย พระพักตร์ดูคล้ายรัตนโกสินทร์ ประดิษฐานเหนือฐานชุกชี พระอุโบสถ เป็นทรงโรง ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ฝาผนังก่ออิฐถือปูนหน้าบันเป็นลายพุดตาล ติดช่อฟ้าใบระกาหางหงส์ หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบสลับสี ซุ้มประตูเป็นลายปูนปั้นเครือเถา บานประตูด้านนอกเป็นลายรดน้ำรูปท้าวจัตุโลกบาล ด้านในเป็นภาพสีรูปอสูรยักษ์ เซี้ยวกาง บานหน้าต่างเป็นลายรดน้ำรูปต้นไม้พร้อมด้วยสิงสาราสัตว์ ด้านในเป็นภาพเขียนสีรูปดอกไม้ ส่วนซุ้มหน้าต่างเป็นรูปปูนปั้นลายเครือเถา รอบพระอุโบสถมีวิหารประจำทิศต่างๆทั้งสี่ทิศ หน้าบันใช้ปูนปั้นเป็นลายเทพพนม ไม่มีซุ้มประตูหน้าต่าง ศาลาจตุรมุข ตั้งอยู่ด้านหน้าและด้านหลังของอุโบสถเป็นศาลาทรงไทย 4 มุข หน้าบันทั้งสี่ด้านมีภาพปูนปั้นเป็นเรื่องราวพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจน ถึงปรินิพพานและการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ขอบล่างเป็นรูปปั้นราหูอมจันทร์ ปลายเสาทุกต้นมีบัวหงาย มณฑปกลางสระน้ำ เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของอุโบสถ วัดไร่ขิงเป็นวัดที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันดี นิยมเดินทางไปนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิงกันอยู่เสมอ ทุกวันศุกร์และเช้าอาทิตย์จะมีตลาดนัดอาหารและผลไม้จำหน่าย ที่บริเวณริมแม่น้ำหน้าวัดเป็นเขตอภัยทาน ร่มรื่น มีปลาสวายตัวโตนับพันอาศัยอยู่ นักท่องเที่ยวสามารถซื้อขนมปังเลี้ยงอาหารปลาได้อีกด้วย สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0 3431 1384, 0 3432 3056

การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
รถยนต์ ใช้เส้นทางสายถนนเพชรเกษม ผ่านสวนสามพราน ก็จะพบป้ายของวัดไร่ขิงอยู่ทางขวามือ
รถโดยสารประจำทาง นั่งรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 2 จากสถานีขนส่งสายใต้ สายเก่า (กรุงเทพฯ-อ้อมใหญ่-สามพราน-นครปฐม) กรุงเทพฯ-ราชบุรี กรุงเทพฯ-บางลี่ กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี ลงปากทางเข้าวัดไร่ขิงแล้วต่อรถโดยสารประจำทางเข้าไปยังวัดไร่ขิง

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์

ตั้ง อยู่ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ด้านทิศใต้เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น โบราณวัตถุที่รวบรวมได้ในระยะแรกได้ถูกนำมาเก็บรักษาไว้ที่ระเบียงคตรอบองค์ พระปฐมเจดีย์ กระทั่ง พ.ศ. 2454 จึงได้ย้ายไปไว้ในวิหารตรงข้ามพระอุโบสถ ซึ่งต่อมาเรียกว่า พระปฐมเจดีย์พิพิธภัณฑสถาน ( ปัจจุบันยังคงเป็นพิพิธภัณฑสถานในความดูแลของวัดพระปฐมเจดีย์) พ.ศ. 2477 ได้ยกฐานะเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในความดูแลของกรมศิลปากร และเมื่อจำนวนโบราณวัตถุเพิ่มมากขึ้น อาคารหลังเดิมคับแคบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 กรมศิลปากรได้รับงบประมาณให้สร้างอาคารพิพิธภัณฑสถานหลังปัจจุบันขึ้น และเคลื่อนย้ายโบราณวัตถุจากหลังเดิมมาจัดแสดงไว้ที่นี่ โดยโบราณวัตถุส่วนใหญ่เป็นหลักฐานในวัฒนธรรมทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12-16) การจัดแสดงแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แนะนำลักษณะทั่วไปของจังหวัดนครปฐม ประวัติความเป็นมาของดินแดนแห่งนี้ การตั้งถิ่นฐานของชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ การติดต่อรับพุทธศาสนาและวัฒนธรรมจากอินเดียเข้ามาผสมผสานกับความเชื่อและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ภาพปูนปั้นรูปชาวต่างประเทศ ศิลาจารึกที่พบบริเวณเมืองโบราณนครปฐม
ส่วนที่ 2 เสนอเรื่องราวด้านศาสนาและความเชื่อของชุมชนทวารวดีที่นครปฐมสะท้อนผ่านงาน ศิลปกรรมประเภทต่างๆ โบราณวัตถุที่จัดแสดงในส่วนนี้ประกอบด้วย ชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมและประติมากรรมประเภทต่างๆ เช่น พระพุทธรูป ภาพสลักเล่าเรื่องพุทธประวัติ ภาพปูนปั้นเรื่องชาดกประดับฐานเจดีย์และธรรมจักร
ส่วนที่ 3 เรื่องราวของนครปฐมหลังความรุ่งเรืองสมัยทวารวดี จนถึงสมัยที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ โปรดเกล้าให้ปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์และเป็นงานสำคัญที่สืบเนื่องต่อมาใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นช่วงที่นครปฐมได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมณฑลนครชัยศรี และในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯให้ก่อสร้างพระราชวังสนามจันทร์ขึ้น เมืองนครปฐมได้รับการพัฒนาเรื่อยมา
สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3427 0300, 0 3424 2500 โทรสาร 0 3424 2500 พิพิธภัณฑ์เปิดให้บริการทุกวัน ระหว่างเวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชมชาวไทย 20 บาท ชาวต่างประเทศ 100 บาท

พระประโทณเจดีย์

เป็น โบราณสถานที่ตั้งอยู่ในวัดพระประโทณเจดีย์ ตำบลพระประโทน อยู่ห่างจากพระปฐมเจดีย์ไปตามถนนเพชรเกษมทางทิศตะวันออกเป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร รูปทรงเดิมของพระประโทณเจดีย์ เป็นทรงโอคว่ำ ตามลักษณะของเจดีย์สมัยทวารวดี เนื่องจากวัดพระประโทณตั้งอยู่กลางเมืองโบราณนครชัยศรี ในบริเวณมีการขุดพบโบราณวัตถุเป็นจำนวนมาก เช่น พระพุทธรูป เศียรพระพุทธรูปปูนปั้น พระดินเผา รวมทั้งโลหะสำริดรูปพญาครุฑเหยียบนาค รัชกาลที่ 6 ทรงใช้เป็นเครื่องหมายราชการของพระองค์ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3421 2011, 0 3421 2313, 0 3424 2440


พุทธมณฑล

เป็น สถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา ตั้งอยู่ที่ตำบลศาลายา มีพื้นที่ประมาณ 2,500 ไร่ พุทธมณฑลเป็นสถานที่ซึ่งรัฐบาลและประชาชนชาวไทยร่วมใจกันจัดสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2500 เนื่องในโอกาสที่พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาได้ถึง 2,500 ปี บริเวณจุดศูนย์กลางของพุทธมณฑลเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางลีลา เป็นพระประธานของพุทธมณฑลมีความสูง 2,500 กระเบียด (ประมาณ 15.875 เมตร) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนามว่า “พระศรีศากยะทศพลญาณประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์” รอบองค์พระประธานเป็นสถานที่จำลองของสังเวชนียสถาน 4 ตำบล คือ ตำบลอันเป็นที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน นอกจากนี้ยังมีศาสนสถานที่สำคัญอื่น ๆ ได้แก่ พระวิหารพุทธมณฑล ตำหนักสมเด็จพระสังฆราช และที่พำนักสงฆ์อาคันตุกะ หอประชุมทางกิจการพระพุทธศาสนา ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน พิพิธภัณฑ์ทางพุทธศาสนา หอสมุดพระพุทธศาสนา สวนไม้ดอกไม้ประดับต่าง ๆ และในปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีในวันสำคัญทางศาสนา อาทิ วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา เป็นต้น เปิดเวลา 05.00-19.00 น. ผู้ที่จะเข้าชมเป็นหมู่คณะโปรดแจ้งความจำนงได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์พุทธมณฑล โทร. 0 2441 9012, 0 2441 9009, 0 2441 9801-2, 0 2441 9440 กองพุทธสารนิเทศ โทร. 0 2441 4515

การเดินทาง จากกรุงเทพฯ สามารถเข้าถึงได้หลายเส้นทาง คือเดินทางไปตามถนนเพชรเกษมถึงประมาณกิโลเมตรที่ 22 เลี้ยวขวาเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 4 ไปประมาณ 8 กิโลเมตร หรือเดินทางไปตามถนนสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี แล้วแยกเข้าถนนพุทธมณฑลสาย 4 ไปเล็กน้อย นอกจากนี้ยังสามารถเดินทางโดยใช้ถนนพุทธมณฑลสาย 3 แยกเข้าสู่ถนนอุทยาน(อักษะ) เพื่อมุ่งเข้าสู่พุทธมณฑลได้ ถนนอุทยาน(อักษะ)เป็นถนนที่ตกแต่งอย่างสวยงามด้วยแนวเสาไฟประดับรูปกินรี น้ำพุและไม้ประดับต่างๆ มีทัศนียภาพที่สวยงาม


พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชวังสนามจันทร์)

ตั้ง อยู่ในตัวเมือง ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา พระราชวังแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ตั้งแต่ยังทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2450 โดยหลวงพิทักษ์มานพ (น้อย ศิลปี) ซึ่งต่อมาเลื่อนยศเป็นพระยาศิลป์ประสิทธิ์ เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง พระที่นั่งเมื่อแรกสร้างมีเพียง 2 พระที่นั่ง ได้แก่ พระที่นั่งพิมานปฐม และพระที่นั่งอภิรมย์ฤดี และพระราชทานนามตามประกาศลงวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2454 และต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำพิธียกพระมหาเศวตฉัตรขึ้นประดิษฐานเหนือพระแท่นรัตนสิงหาสน์ ภายในพระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2466

การสร้างพระราชวังแห่งนี้มีมูลเหตุจูงใจมาจากการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระปฐม เจดีย์ซึ่งทำให้พระองค์ทรงพอพระราชหฤทัยเมืองนครปฐมเป็นอย่างยิ่งทรงเห็นว่า เป็นเมืองที่เหมาะสมสำหรับประทับพักผ่อนเนื่องจากมีภูมิประเทศที่งดงาม ร่มเย็น นอกจากนี้ยังทรงมีพระราชดำริที่ลึกซึ้ง นั่นก็คือ ทรงเห็นว่านครปฐมเป็นเมืองที่มีชัยภูมิเหมาะสำหรับต้านทานข้าศึกซึ่งจะยก เข้ามาทางน้ำได้อย่างดี ด้วยทรงจดจำเหตุการณ์ เมื่อ ร.ศ.112 ที่ฝรั่งเศสนำเรือรบเข้ามาปิดปากอ่าวไทยได้ และไม่ต้องการที่จะให้ประเทศไทยตกอยู่ในสภาพดังกล่าว จึงตั้งพระทัยที่จะสร้างพระราชวังสนามจันทร์ไว้สำหรับเป็นเมืองหลวงที่สอง หากประเทศชาติประสบปัญหาวิกฤติ พระราชวังสนามจันทร์ มีอาณาเขตกว้างขวางประกอบด้วยสนามใหญ่อยู่กลาง มีถนนโอบเป็นวงโดยรอบ และมีคูน้ำล้อมอยู่ชั้นนอก ส่วนพระที่นั่งต่าง ๆ นั้นรวมกันอยู่ส่วนกลางของพระราชวังเท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่

พระที่นั่งพิมานปฐม เป็นพระที่นั่งองค์แรกที่สร้างขึ้นในพระราชวังสนามจันทร์ เป็นตึก 2 ชั้นแบบตะวันตกตัวอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงใช้เป็นที่ประทับโดยเฉพาะก่อนเสด็จฯขึ้นครองราชย์ เป็นที่ทรงพระอักษร ที่เสด็จออกขุนนาง ที่รับรองพระราชอาคันตุกะและออกให้ราษฎรเข้าเฝ้ามากกว่าพระที่นั่งอื่นๆ ภายในพระที่นั่งมีห้องต่างๆ อาทิ ห้องบรรทม ห้องสรง ห้องเสวย ห้องภูษา ฯลฯ มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาอยู่องค์หนึ่งและมีภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังฝีมือ พระยาอนุศาสน์จิตรกร(จันทร์ จิตรกร) งดงามน่าชม และที่พระที่นั่งนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ประทับทอดพระเนตรเห็นปาฏิหาริย์ขององค์พระปฐมเจดีย์บนแท่นไม้สักมีขนาด 2 เมตร ชื่อว่า “พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศไนย์” ขณะนี้ทางการได้รื้อนำไปตั้งไว้หน้าพระที่นั่งพุทไธศวรรย์ในพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ ส่วนพระที่นั่งพิมานปฐมนั้น ปัจจุบันใช้เป็นส่วนหนึ่งของศาลากลางจังหวัดนครปฐม

พระที่นั่งอภิรมย์ฤดี เป็นตึก 2 ชั้น อยู่ด้านใต้ของพระที่นั่งพิมานปฐม ขณะนี้ใช้เป็นที่ทำการของศาลากลางจังหวัดนครปฐม

พระที่นั่งวัชรีรมยา เป็นตึก 2 ชั้น สร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบไทย หลังคาซ้อน มียอดปราสาทมุงด้วยกระเบื้องเคลือบสีงดงาม มีช่อฟ้าใบระกา นาคสะดุ้ง หางหงส์ครบถ้วน พระที่นั่งองค์นี้เคยใช้เป็นที่บรรทมเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของศาลากลางจังหวัด

พระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ อยู่ถัดจากพระที่นั่งวัชรีรมยาโดยมีโถงใหญ่และหลังคาเชื่อมต่อกัน เป็นศาลาโถง ทรงไทย ยกสูงจากพื้นดินประมาณหนึ่งเมตรและมีอัฒจันทร์ลงสองข้าง หน้าบันอยู่ทางทิศเหนือเป็นรูปจำหลักท้าวอมรินทราธิราชประทานพรประทับอยู่ใน พิมานปราสาทสามยอด พระหัตถ์ขวาทรงวชิระ พระหัตถ์ซ้ายประทานพรแวดล้อมด้วยบริวารประกอบด้วยเทวดาและมนุษย์ห้าหมู่ พระที่นั่งองค์นี้ใช้เป็นที่ออกงานสโมสรสันนิบาต เป็นท้องพระโรงเวลาเสด็จออกขุนนาง เป็นที่ประชุมข้าราชการและกองเสือป่า และใช้เป็นโรงละครสำหรับแสดงโขนอีกด้วย จึงมีชื่อเรียกติดปากชาวบ้านว่า “โรงโขน” พระที่นั่งมีลักษณะพิเศษ คือ ตัวแสดงจะออกมาปรากฏกายภายนอกฉากบนเฉลียงถึง 3 ด้าน มิใช่แสดงอยู่เพียงบนเวที โรงละครที่มีลักษณะดังกล่าวนี้มีอีก 2 แห่งคือ โรงละครสวนมิสกวันและหอประชุมโรงเรียนวชิราวุธ ปัจจุบันพระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ใช้เป็นหอประชุมของจังหวัดนครปฐม หรือใช้ในพิธีต่าง ๆ ของทางราชการ

พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสนามจันทร์ เป็นพระตำหนัก 2 ชั้นคล้ายปราสาทขนาดย่อมสีไข่ไก่ หลังคามุงกระเบื้องสีแดง สถาปัตยกรรมแบบเรอเนสซองส์ของฝรั่งเศสกับอาคารแบบฮาร์ฟทิมเบอร์ของอังกฤษ สร้างแบบตะวันตกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างพระตำหนักนี้ราวปี พ.ศ. 2451 โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรร กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ ชั้นบนมีห้องทรงพระอักษร ห้องบรรทม และห้องสรง ชั้นล่างทางทิศตะวันตกเป็นห้องรอเฝ้าฯ และเคยใช้เป็นสำนักงานชั่วคราวในการออกหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตรายสัปดาห์ พระตำหนักหลังนี้ใช้เคยเป็นที่ประทับเมื่อเวลามีการซ้อมรบเสือป่า ณ พระราชวังสนามจันทร์และทรงใช้เป็นที่ประทับตลอดช่วงปลายรัชกาลเมื่อเสด็จ พระราชวังสนามจันทร์

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ เป็นเรือนไม้สักทอง 2 ชั้นแบบตะวันตกทาสีแดง ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิค พระตำหนักองค์นี้สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ เชื่อมติดต่อถึงกันด้วยฉนวนทางเดินทอดยาวลักษณะเป็นสะพาน หลังคามุงกระเบื้อง ติดหน้าต่างกระจกตลอดความยาวสองด้าน จากชั้นบนด้านหลังพระตำหนักชาลีฯ ข้ามคูน้ำมาเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนักมารีฯ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ราวปี พ.ศ. 2459 โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรร กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ พระตำหนักทั้งสองหลังสร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง My friend Jarlet ของ Arnold Golsworthy และ E.B. Norman ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “มิตรแท้” โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก

พระตำหนักทับแก้ว เป็นตึกหลังเล็กซึ่งเคยเป็นที่ประทับในฤดูหนาว ปัจจุบันได้ปรับปรุง และตกแต่งสวยงาม ใช้เป็นบ้านพักของปลัดจังหวัดนครปฐม ภายในอาคารยังมีเตาผิงสำหรับให้ความอบอุ่น และมีภาพเขียนขาวดำของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวบนแผ่นหินอ่อนสี ขาวที่ผนังห้อง อนึ่งที่ดินบริเวณเบื้องหลังทับแก้วประมาณ 450 ไร่ ได้กลายเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร

พระตำหนักทับขวัญ เป็นเรือนไทยภาคกลางที่สมบูรณ์แบบ สร้างด้วยไม้สักทองใช้วิธีเข้าไม้ตามแบบฉบับบ้านไทยโบราณ ฝาเรือนทำเป็นฝาปะกนกรอบลูกฟัก เชิงชายและไม้ค้ำยันสลักเสลาสวยงาม หลังคาเดิมมุงจาก หลบหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา นายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างคือ พระยาวิศุกรรมศิลป์ประสิทธิ์ (น้อย ศิลปี) พระตำหนักทับขวัญประกอบด้วยกลุ่มเรือน 8 หลัง ได้แก่ เรือนใหญ่ 4 หลัง เรือนเล็ก 4 หลัง สร้างให้หันหน้าเข้าหากัน 4 ทิศบนชานรูปสี่เหลี่ยม เรือนหลังใหญ่เป็นหอนอน 2 หอ (ห้องบรรทมเป็นหอนอนที่อยู่ทางทิศใต้) อีก 2 หลังเป็นเรือนโถงและเรือนครัวซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน ส่วนเรือนเล็กอีก 4 หลังนั้นตั้งอยู่ตรงมุม 4 มุมๆ ละ 1 หลัง ได้แก่ หอนก 2 หลัง เรือนคนใช้และเรือนเก็บของ เรือนทุกหลังมีชานเรือนเชื่อมกันโดยตลอด บริเวณกลางชานเรือนปลูกต้นจันทน์แผ่กิ่งก้านไว้ให้ร่มเงา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณและทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดการพระราชพิธีขึ้นพระตำหนักใหม่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2454 พระองค์ได้ประทับแรม ณ พระตำหนักองค์นี้เป็นเวลา 1 คืน และเมื่อมีการซ้อมรับเสือป่า พระตำหนักองค์นี้ใช้เป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่าราบหนักรักษาพระองค์

เทวาลัยคเณศวร์ หรือเรียกว่า ศาลพระพิฆเนศวร ตั้งอยู่กลางสนามหญ้าใหญ่ของพระราชวังสนามจันทร์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างศาลเทพารักษ์ขึ้นสำหรับพระราชวังสนามจันทร์ ประดิษฐานพระพิฆเนศวร์ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปวิทยาการ เพื่อความเป็นสิริมงคลและเมื่อมองจากพระที่นั่งพิมานปฐมจะเห็นพระปฐมเจดีย์ เทวาลัยคเณศวร์และพระที่นั่งพิมานปฐมอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ศาลนี้เป็นศูนย์กลางของพระราชวังสนามจันทร์มีผู้ศรัทธานับถือกันมาก จนเป็นสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ของพระราชวังสนามจันทร์

อนุสาวรีย์ย่าเหล เป็นรูปหล่อด้วยโลหะขนาดเท่าตัวจริงของสุนัข ซึ่งมีความผูกพันใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่าง ยิ่ง ย่าเหลเป็นสุนัขพันธุ์ทางหางเป็นพวง สีขาวด่างดำ หูตก เกิดในเรือนจำจังหวัดนครปฐม เป็นสุนัขของหลวงชัยอาญา (โพธิ์ เคหะนันท์) ซึ่งเป็นพะทำมะรง (ผู้ควบคุมนักโทษ) พระองค์ทรงพบเข้าเมื่อครั้งเสด็จฯตรวจเรือนจำ จึงนับว่าเป็นโชคของย่าเหลที่ทรงพอพระราชหฤทัยและทรงนำย่าเหลมาเลี้ยงไว้ใน ราชสำนัก ด้วยความที่ย่าเหลเป็นสุนัขที่เฉลียวฉลาด และจงรักภักดีต่อพระองค์ท่านจนเป็นที่โปรดปรานมาก เป็นเหตุให้มีผู้อิจฉาริษยาและลอบยิงย่าเหลตายในที่สุด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโศกเศร้าอาลัยย่าเหลมาก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้หล่อรูปย่าเหลด้วยทองแดงตั้งไว้หน้าพระตำหนักชาลี มงคลอาสน์ และทรงพระราชนิพนธ์กลอนไว้อาลัยย่าเหลติดไว้ที่แท่นใต้รูปหล่อนั้นด้วย

เรือนพระธเนศวร ในสมัยก่อนเคยใช้เป็นบ้านพักอาศัยของเจ้าพระยาบุรุษรัตนราชวัลลภ ภายในจัดแสดงพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุ วงศ์ มีห้องแสดงเรือกอและสิ่งของซึ่งนำมาจากหลายที่ เช่น จากพระตำหนักสวนจิตรลดาหรือพระราชวังบางปะอิน

นอกจากนี้ ภายในพระราชวังสนามจันทร์ยังมีบ้านพักข้าราชบริพารทั้งฝ่ายหน้า และฝ่ายในที่ตามเสด็จ บ้านพักเหล่านี้ บางหลังก็ชำรุดทรุดโทรม แต่หลายหลังยังอยู่ในสภาพดีที่เห็นได้ก็คือ บ้านพักเจ้าพระยารามราฆพ ผู้สำเร็จราชการมหาดเล็กซึ่งครั้งนั้นเรียกว่า “ทับเจริญ” ปัจจุบันนี้ได้ใช้เป็นสถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตกพระราชวังสนามจันทร์ เป็นสถานที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงโปรดมากเป็นพิเศษ จะเห็นได้จากการที่เสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรม ณ พระราชวังแห่งนี้อยู่เนืองๆ โดยเสด็จฯแปรพระราชฐานให้ตรงกับฤดูการซ้อมรบของพวกเสือป่า พระองค์จึงทรงถือโอกาสออกตรวจตรา และบัญชาการซ้อมรบของพวกเสือป่าด้วยพระองค์เองเสมอ ปัจจุบันก็ยังมีอาคารซึ่งปลูกสร้างขึ้นเพื่อกิจการของเสือป่าเหลืออยู่ให้ เห็น เช่น อาคารที่พักของเสือป่าม้าหลวง และเสือป่าพรานหลวงกับโรงพยาบาลเสือป่า เป็นต้น

ปัจจุบันพระราชวังสนามจันทร์บางส่วนอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย ศิลปากร และจังหวัดนครปฐม เปิดให้เข้าชมทุกวัน ปิดวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. (ปิดขายบัตร 15.30 น.) อัตราค่าเข้าชม คนไทย ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 10 บาท พระภิกษุ สามเณร แม่ชี นักศึกษา 10 บาท ชาวต่างประเทศ 50 บาท โทร. 0 3424 4236-7 โทรสาร 0 3424 4235

 

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรวิหาร

ตั้ง อยู่ที่ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม เป็นพระสถูปเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย จังหวัดนครปฐมได้ใช้พระปฐมเจดีย์เป็นตราประจำจังหวัด พระปฐมเจดีย์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้เป็นองค์ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2396 โดยโปรดเกล้าฯให้สร้างครอบพระเจดีย์องค์เดิมซึ่งเป็นเจดีย์เก่าแก่มีฐานแบบ โอคว่ำและมียอดปรางค์อยู่ข้างบน สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ 4 เนื่องจากรูปร่างของเจดีย์แบบโอคว่ำ มีลักษณะคล้ายกับสาญจีเจดีย์ในอินเดียซึ่งสร้างสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช การก่อสร้างเจดีย์ครอบองค์ใหม่เสร็จเรียบร้อยในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2413 รวมเวลาก่อสร้าง 17 ปี พระเจดีย์องค์ใหม่มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงกลม รูประฆังคว่ำแบบลังกา มีความสูงจากพื้นดินถึงยอดมงกุฎ 3 เส้น 1 คืบ 10 นิ้ว (หรือประมาณ 120.5 เมตร) ฐานวัดโดยรอบได้ 5 เส้น 17 วา 3 ศอก (หรือประมาณ 233 เมตร) ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้ทรงบูรณะวัดพระปฐมเจดีย์ให้สง่างามมากขึ้น และถือว่าวัดพระปฐมเจดีย์เป็นวัดประจำรัชกาลที่ 6 พระปฐมเจดีย์ เปิดตั้งแต่เวลา 07.00-20.00 น. ค่าเข้าชมชาวต่างประเทศ 40 บาท ประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปีจะมีงานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานจัดประโยชน์และรักษาองค์พระปฐมเจดีย์ โทร. 0 3424 2143

ความเชื่อและวิธีการบูชา การนมัสการพระปฐมเจดีย์ถือเป็นสิริมงคลและได้อานิงส์อย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ชาวนครปฐมเชื่อว่าพระร่วงโรจนฤทธิ์นั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก หากใครอธิษฐานขอพรสิ่งใดก็มักจะได้รับสิ่งนั้นสมดังปรารถนาในทุกประการ

งานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น 12 ค่ำ ถึงวันแรม 15 ค่ำ เดือน 12 (ประมาณเดือนพฤศจิกายน) รวม 9 วัน 9 คืน

นอกจากนี้ภายในวัดพระปฐมเจดีย์ยังมีสิ่งที่น่าสนใจต่างๆ ดังนี้

พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย ประดิษฐานในซุ้มวิหารทางทิศเหนือหน้าองค์พระปฐมเจดีย์ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยได้พระเศียร พระหัตถ์ และพระบาท มาจากเมืองศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ช่างทำรูปปั้นขี้ผึ้งปฏิสังขรณ์ให้บริบูรณ์เต็มองค์ ทำพิธีหล่อที่วัดพระเชตุพนฯ เมื่อ พ.ศ. 2456 แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในซุ้มวิหารด้านทิศเหนือตรงกับบันไดใหญ่ และพระราชทานนามว่า “พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรมโมภาส มหาวชิราวุธราชปูชนียบพิตร” และที่ฐานพระพุทธรูปองค์นี้เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว

พิพิธภัณฑ์วัดพระปฐมเจดีย์ ตั้งอยู่บริเวณชั้นลดด้านทิศตะวันออกตรงข้ามพระอุโบสถ ภายในเก็บวัตถุโบราณที่ขุดพบได้จากสถานที่ต่างๆ ในจังหวัดนครปฐมทั้งสมัยบ้านเชียง สมัยทวารวดี เช่น พระพุทธรูป หินบดยา ลูกประคำดินเผา กำไลข้อมือ เงินโบราณ ฯลฯ และยังเป็นที่เก็บหีบศพของย่าเหลและโต๊ะหมู่บูชาซึ่งใช้ในพิธีศพของย่าเห ลซึ่งเป็นสุนัขที่รัชกาลที่ 6 ทรงโปรดปรานมากและถูกคนลอบยิงตาย พระองค์ทรงเสียพระทัยมาก โปรดฯให้สร้างอนุสาวรีย์ไว้อาลัย พิพิธภัณฑ์เปิดให้เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 08.00-16.30 น. (ปิดช่วงเวลา 12.00–13.00)

เจษฎาเทคนิคมิวเซี่ยม

ตั้งอยู่เลขที่ 100 หมู่ 2 ตำบลงิ้วราย อำเภอนครชัยศรี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่รวมรวบและจัดแสดงยานยนต์ เครื่องกล ยานพาหนะ หลากหลายชนิดจากทั่วทุกมุมโลก ตั้งอยู่ที่เลขที่ 100 หมู่ 2 ตำบลงิ้วราย ก่อตั้งโดยนายเจษฎา เดชสกุลฤทธิ์ นักธุรกิจชาวไทยที่ชื่นชอบการเดินทางท่องเที่ยวไปทั่วโลก เมื่อมีโอกาสเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ในต่างแดน ทำให้เกิดแรงบันดาลใจในการสะสมขึ้น โดยยานพาหนะที่รวบรวมนี้มีทั้ง ยานพาหนะทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ เช่น รถเล็ก รถการ์ตูน เรือดำน้ำสัญชาติรัสเซีย เครื่องบินโบอิ้ง 747 เครื่องบินไทรสตาร์ ฯลฯ เปิดให้ชมวันอังคาร์-วันอาทิตย์ ในเวลา 9.00-17.00 น.ผู้สนใจเยี่ยมชมสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 08 9679 8778, 0 2883 2880 หรือเยี่ยมชมเว็บไซต์ www.jesadatechnikmuseum.com


ตลาดน้ำวัดลำพญา

ตั้ง อยู่บริเวณหน้าวัดลำพญา ริมแม่น้ำนครชัยศรี(ท่าจีน) ลำพระยา เดิมเป็นชื่อของหมู่บ้าน ในสมัยที่ยังเป็นอำเภอบางปลา มณฑลนครชัยศรี มีประวัติเล่าว่าในสมัยรัชกาลที่ 5 พระยากรมท่าขุดคลองบริเวณท้ายตลาดในปัจจุบันเพื่อการจับจองที่นา ชุมชนชาวบ้านสองกลุ่ม คือ ชาวมอญอพยพมาจากสามโคกในปลายสมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งบ้านเรือนอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำทำอาชีพการเกษตร และชาวจีนซึ่งตั้งบ้านเรือนอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำทำการค้าขาย บริเวณนี้จึงกลายเป็นตลาดริมน้ำวัดนี้ถือกำเนิดราวปี พ.ศ. 2400 อยู่คู่ชุมชนแห่งนี้นานนับ 100 ปี ได้รับการบูรณะและพัฒนาให้สวยงาม สงบร่มเย็น เป็นที่ประดิษฐานของหลวงพ่อมงคลมาลานิมิต พระพุทธรูปปางมารวิชัย สร้างด้วยศิลาแลง พอกปูนและปิดทองทับ มีงานนมัสการในวันแรม 14 ค่ำ เดือน 4 ถึงวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 รวม 3 วัน

ตลาดน้ำวัดลำพญาแห่งนี้ริเริ่มโดย สภาวัฒนธรรมตำบลลำพญา ร่วมกับวัดลำพญา เป็นแหล่งรวมพืชผักผลไม้ ผลิตผลทางการเกษตร เช่น เครื่องจักสาน ผ้าทอ ผ้าย้อม และอาหารราคาถูก มีอาหารไทยจำหน่าย อาทิ ก๋วยเตี๋ยวเรือ ขนมหวาน ขนมเปี๊ยะ ห่อหมก ผัก และผลไม้ บริเวณหน้าวัดมีปลานานาชนิด เช่น ปลาสวาย ปลากระแห ปลาแรด ปลาเทโพ นอกจากนี้ทางวัดมีบริการจักรยานน้ำ เรือล่องแม่น้ำท่าจีนโดยมีเรือบริการหลายประเภทดังนี้

เรือแจวโบราณ ล่องลำน้ำท่าจีน ออกจากหน้าวัดลำพญาไปนมัสการศาลเจ้าแม่ทับทิมซึ่งเป็นศาลศักดิ์สิทธิ์ประจำ ตำบลลำพญา ใช้เวลาประมาณ 30 นาที

เรือลาก ล่องแม่น้ำท่าจีนไป-กลับ ออกจากหน้าวัดลำพญาไปวัดสุขวัฒนาราม ที่บริเวณหน้าวัดลำพญามีวังปลาชุกชุมสามารถให้อาหารปลาได้

เรือกระแชง ออกจากหน้าวัดลำพญาไปวัดบางพระ (วัดหลวงพ่อเปิ่น) ใช้เวลาประมาณ 2ชั่วโมงครึ่ง
ตลาดน้ำแห่งนี้มีเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ ตั้งแต่เวลาประมาณ 06.00-17.00 น.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ประชาสัมพันธ์ตลาดน้ำวัดลำพญา โทร. 01763 4179, 0 1659 7371, 01721 4874 สภาวัฒนธรรมตำบลลำพญา โทร. 03439 1626 วัดลำพญา โทร. 0 3439 1985 โรงเรียนวัดลำพญา โทร. 03439 2022
การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง
รถยนต์ เส้นทางแรก สายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี ขับตรงไปจนถึงบริเวณสะพานลอยเข้าสู่ศาลายา เลี้ยวขวาขึ้นสะพาน และขับตรงไปผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล แล้วเลี้ยวซ้ายผ่านหน้าที่ว่าการอำเภอพุทธมณฑล ถึงสถานีตำรวจพุทธมณฑลแล้วให้เลี้ยวขวาขับรถตรงไปอีกประมาณ 24 กิโลเมตร ก็จะพบวัดลำพญาอยู่ทางซ้ายมือ ใช้เวลาประมาณ 45 นาที

เส้นทางที่สอง ใช้เส้นทางสายบางบัวทอง ขับตรงไปประมาณ 10 กิโลเมตร ให้สังเกตป้ายเข้าสู่อำเภอบางเลนด้านซ้ายมือ แล้วเลี้ยวซ้ายตรงไปอีกประมาณ 20 กิโลเมตร จะพบทางแยกซ้ายมืออีกครั้ง (ก่อนข้ามสะพานแม่น้ำท่าจีน) ให้เลี้ยวซ้ายเข้าไปประมาณ 9 กิโลเมตร ก็จะพบวัดลำพญาอยู่ทางขวามือ

รถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารประจำทาง สายกรุงเทพฯ-นครปฐม โดยให้มาลงที่ตัวตลาด แล้วจากนั้นให้นั่งรถสองแถว สายนครปฐม-ลำพญา ให้ลงที่หน้าวัดลำพญา หรือจะขึ้นที่ตลาดตัวเมืองนครปฐม สายลำพญา-ทุ่งน้อย มาลงที่หน้าวัดลำพญาโดยตรง

 

แอร์ออร์คิด

สวน กล้วยไม้หลากหลายพันธุ์บนพื้นที่ 120 ไร่ ที่นี่มีห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ ที่อนุบาลกล้วยไม้ พันธุ์กล้วยไม้ที่นี่ทั้งส่งออกต่างประเทศและจำหน่ายในประเทศในราคาย่อมเยา ผู้สนใจเยี่ยมชมซื้อกล้วยไม้ สามารถใช้รถเข็นซุปเปอร์มาร์เก็ตเข็นเลือกซื้อกล้วยไม้ จึงเรียกกันว่า ซุปเปอร์มาร์เก็ตกล้วยไม้

การเดินทาง จากมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ไปอีกประมาณ 16 กิโลเมตร โดยเลี้ยวซ้ายแยกแรกและเลี้ยวขวาแยกแรก เปิดทุกวัน 07.00-17.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ คุณลัดดา คุ้มวิเชียร 23/1 หมู่ 3 ตำบลนราภิรมย์ อำเภอบางเลน นครปฐม 73130 โทร. 0 3429 8238, 0 1438 2633, 0 1916 2342 หรือ www.airorchids.com

 

พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดท่าพูด

ตั้ง อยู่ในวัดท่าพูด ตำบลไร่ขิง ริมแม่น้ำท่าจีน เป็นวัดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปีจากหลักฐานจารึกบนแผ่นอิฐมอญบนผนังพระอุโบสถ สันนิษฐานว่าสร้างสมัยอยุธยาตอนปลายประมาณสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ โดยกลุ่มคนที่อพยพโยกย้ายมาจากกรุงศรีอยุธยาเพื่อหลบภัยสงครามหลังเสียกรุง ศรีอยุธยาพ.ศ. 2310 และมาตั้งหลักแหล่งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน หลวงพ่อรดเจ้าอาวาสคนแรกเป็นอดีตพระราชาคณะกรุงศรีอยุธยา แม้ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจะนิมนต์ท่านให้เข้าไปจำพรรษาในเมือง หลวง เนื่องจากทรงฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีสมัยกรุงศรีอยุธยาและทะนุบำรุงพระ พุทธศาสนาโดยสืบหาพระภิกษุสงฆ์ที่มาจากกรุงเก่าเพื่อนิมนต์เข้าไปจำพรรษาใน กรุงธนบุรี แต่หลวงพ่อรดก็ประสงค์จะจำพรรษาที่วัดนี้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมิขัดข้องและทรงพระราชทานสิ่งของหลายสิ่ง เช่น พระยานมาศ(คานหาม) กระโถนถมปัทม์ กาน้ำชาและเรือกัญญาจำนวนอีก 2 ลำ ในสมัยรัชกาลที่ 5 วัดท่าพูดเป็นที่รู้จักของเชื้อพระวงศ์ ได้แก่ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เนื่องจากในขณะนั้นมีเจ้าอาวาสใหญ่และรองที่มีชื่อเสียงคือหลวงพ่อแก้วและ หลวงพ่อชื่น ปีพ.ศ.2540 มีความคิดที่จะสร้างพิพิธภัณฑ์ประจำวัดขึ้นเพื่อประโยชน์ต่อการศึกษา และใช้พื้นที่การจัดแสดงเป็น 3 ส่วน คือ 1. หอพระไตรปิฎกสมัยรัชกาลที่ 3 จัดแสดงโบราณวัตถุ เช่น สิ่งของที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงพระราชทานให้แก่พระอาจารย์รด นอกจากนั้นยังมีเครื่องถมปัทม์ 2. กุฏิอดีตเจ้าอาวาสหลังเก่าพ.ศ. 2502 จัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ของเจ้าอาวาส เครื่องบริขารต่างๆ สมบัติของวัด เช่น เครื่องแก้ว เครื่องกรองน้ำ เครื่องปั้นดินเผาที่งมได้จากแม่น้ำหน้าวัด รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ที่แสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นเช่น เถรรอดเพล (เถร-อด-เพล) เป็นเครื่องเล่นลับสมองของคนไทยโบราณทำจากไม้ มีภาพถ่ายทางอากาศของวัด และ 3. อาคารเรียนพระปริยัติธรรมสมัยรัชกาลที่ 5-6 เป็นอาคารไม้สักประดับลายไม้ฉลุ(ขนมปังขิง) หน้าจั่วเป็นรูปเครื่องหมาย “ มหามกุฏราชวิทยาลัย” วัดบวรนิเวศวิหาร ชั้นบนมุมหนึ่งรวบรวมเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ย้อนยุคสมัยต่างๆ และยังมีหนังสือและเอกสารต่างๆที่ทางวัดเก็บไว้ ชั้นล่างใต้ถุนอาคารเก็บเครื่องวิดระหัดน้ำเข้านา

เปิดวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 09.00-16.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม (กรุณาติดต่อล่วงหน้าก่อนเข้าชม) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร 08 1941 6637 (คุณวิรัชน์), 08 9786 4533 (คุณมานะ), 0 3428 8852, 0 3432 1122 (เจ้าอาวาส)

การเดินทาง นั่งรถสองแถวจากปากทางเข้าวัดไร่ขิงเข้าไป (อยู่เลยวัดไร่ขิงไปแต่ก่อนถึงวัดดอนหวาย)

พระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรณ์เกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

ณ กลางสระน้ำ หน้าอาคารบังคับการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ตำบลศาลายา ห่างจากพุทธมณฑลประมาณ 5 กิโลเมตร พระรูปหล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์รมดำสีมันปู ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อมุมจารึกตราประจำพระองค์ กรมยุทธศึกษาทหารเรือได้จัดสร้างพระอนุสาวรีย์ของพระองค์ท่านขึ้นประกอบพิธี วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2546 โดยผู้บัญชาการทหารเรือเป็นประธานในพิธีเพื่อเป็นที่สักการะบูชาของทหารเรือ และประชาชนทั่วไป เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น. การ เดินทาง จากสี่แยกพุทธมณฑลสาย 5 - ถนนไทยาวาส ระยะทางประมาณ 200 เมตร หรือ จากที่ว่าการอำเภอพุทธมณฑลประมาณ 1.5 กิโลเมตร รถโดยสารประจำทาง สาย ปอ.515, 547, 124, 125

 

ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (วิทยาลัยในวัง)

ตั้ง อยู่ริมถนนศาลายา-บางภาษี ตำบลศาลายา เป็นงานศิลปะไทยโบราณ “ช่างสิบหมู่” เป็นศิลปะไทยที่ล้วนถูกสร้างสรรค์มาจากภูมิปัญญา และความชำนาญที่สั่งสมมาจากบรรพบุรุษไทย “ช่างสิบหมู่” หมายถึง กลุ่มช่างผู้ทำงานด้วยมือ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะไทยโบราณ เช่น ช่างเขียน ช่างเกาะ ช่างสลัก ช่างปั้น ช่างปูน ช่างรัก ช่างหุ่น ช่างบุ ช่างกลึง และช่างหล่อ ซึ่งภายในศูนย์ได้จัดแสดงผลงานของนักศึกษาเพาะช่างไว้ให้ชม และยังมีสินค้าของที่ระลึกที่ทำจากนักศึกษาฝีมือของนิสิต-นักศึกษา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3429 7264-6 โทรสาร 0 2431 3624 หรือ www.nfe.go.th/0415 การเดินทาง รถประจำทางสาย 84 ก, 164 ต่อรถสองแถว

 


พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดสำโรง

ตั้ง อยู่ในวัดสำโรง ตำบลวัดสำโรง เริ่มดำเนินการโดยพระครูสิริ ปุญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสำโรง เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยเจ้าอาวาสและชาวบ้านได้ร่วมกันบริจาคอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้พื้นบ้าน ครื่องมือจับสัตว์น้ำ สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านของไทยในอดีต ห้องพิพิธภัณฑ์อยู่ชั้นล่างของ ศาลาอเนกประสงค์

ภายในห้องแบ่งการจัดแสดงเป็นหมวดหมู่ ดังนี้
ส่วนที่ 1 ครัวโบราณ จัดแสดงอุปกรณ์ในการหุงต้ม อันประกอบด้วย เตาดินเผา หม้อ ดิน ประเภท ต่างๆ เช่น หม้อหูกระทะ หม้อต้ม กาดินเผาและเครื่องใช้ในครัว เช่น ตะกร้าล้างปลา กระต่ายขูดมะพร้าว กระบวย โอ่งน้ำ
ส่วนที่ 2 หัตถกรรมพื้นบ้าน แสดงเครื่องจักสานอันเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ แปรรูปไม้ไผ่และหวายเป็นเครื่องมือ ใช้สอย เช่น สาแหรก ตะกร้ากระบุง กระจาด กระด้ง สนับโรย ปุ้งกี๋
ส่วนที่ 3 อุปกรณ์ตวงข้าว แสดงอุปกรณ์ชั่ง ตวง วัด การตวงข้าวเปลือกแบบเก่าที่บรรพบุรุษเคยใช้ในอดีตประกอบด้วย กระบุงปากบาน กระบุงโกย กระบุงตวง ถังตวงข้าว(ไม้) (เหล็ก) กระด้งบดข้าว ไม้บดข้าว
ส่วนที่ 4 เครื่องมือการทำนา การทำนาในอดีตใช้แรงงานจากสัตว์ คือ วัว ควาย เป็นแรงงานหลัก เครื่องมือในการทำนาที่จัดแสดงประกอบด้วย โกรกคล้องคอควายสำหรับ ลากไถ แอก คราด ไถ ไม้คานหาบข้าวไม้คานหลาว งอบ เคียวเกี่ยวข้าว
ส่วนที่ 5 เครื่องมือจับสัตว์น้ำ สะท้อนวิถีการกินอยู่อย่างไทยแบบพออยู่พอกิน ประกอบด้วยเครื่องมือดักสัตว์ เช่น ด้วงดักหนู แร้ว กับดักต่างๆและอุปกรณ์จับสัตว์น้ำ เช่น ข้อง เบ็ด อวน ฉมวก สุ่ม
ส่วนที่ 6 เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด เป็นตู้แสดง 3 ชั้น ตู้ที่ 1 ชั้นบนตั้งแสดงเชี่ยนหมากทองเหลือง ตะเกียงลาน กลอนประตู ชั้นล่างจัดแสดง เครื่องมือช่างไม้ จำพวกกบผิว กบบังใบ เลื่อยอก เลื่อยลันดา อีกด้านหนึ่งจัดแสดง เครื่องทองเหลือง จำพวก ถาดทองเหลือง หม้อทองเหลือง ตู้ที่ 2 จัดแสดง ตราชั่ง ลูกคิดและของเบ็ตเตล็ดอื่นๆ ส่วนรอบๆห้องตั้งแสดง ไห กระถางเคลือบ ประเภทต่างๆ นอกจากนี้ยังมีอาคารจัดแสดงอาชีพชาวนา จัดแสดงอุปกรณ์เครื่องมือในการทำนา อุปกรณ์ในการไถหว่าน อุปกรณ์ในการเกี่ยวข้าว นวดข้าว เช่น เครื่องฝัดข้าว สีข้าว ครกตำข้าว, อุปกรณ์ในการวิดน้ำ เช่น ระหัดชกมวย ระหัดเครื่องยนต์ และเป็นที่จัดแสดงเรือประเภทต่างๆ เช่น เรือบด เรือจ้าง เรือแปะ พิพิธภัณฑ์เปิดทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 03423 9489, 0 1705 8366 (เกตุ พุ่มประจำ) หรือ www.watsamrong.com
การเดินทาง ไปตามถนนนครชัยศรี-ดอนตูม เลยทางรถไฟไปประมาณ 5 กิโลเมตร จะเห็นปากทางเข้าวัด เข้าไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตชาวนาไทย

ตั้ง อยู่เลขที่ 9/1 หมู่ 4 บ้านลานแหลม ถนนนครชัยศรี-ดอนตูม กิโลเมตรที่ 14–15 ตำบลวัดละมุด ในบริเวณบ้านของอาจารย์เริงชัยและคุณป้าพยอม แจ่มนิยม ซึ่งใช้บ้านของท่านเป็นที่เก็บรวบรวมและจัดแสดงเครื่องมือ เครื่องใช้ของชาวนาไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เพื่อสนองพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และเล่าขานตำนานวิถีชาวนาไทย ตัวอาคารเป็นเรือนไทยเครื่องผูก 2 ห้อง จัดแสดงวิถีชีวิตชาวนาย้อนไปเมื่อประมาณ 40 ปีก่อน เครื่องมือเครื่องใช้การเกษตร เครื่องมือจับปลา เครื่องมือก่อสร้างบ้านเรือน ผู้สนใจสามารถชมการเกษตรแบบดั้งเดิม การเกษตรแบบพอเพียง สาธิตการผลิตข้าวกล้องข้าวซ้อมมือ การหุงข้าวด้วยหม้อดิน การผลิตหัตถกรรมจักสานผักตบชวาของอำเภอนครชัยศรี โดยควรติดต่อล่วงหน้าก่อนเข้าชม เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-17.00 น. อัตราค่าเข้าชม 20 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3429 6086, 08 1991 6084, 08 5186 4404, 08 7165 1681

 

สนามแข่งรถไทยแลนด์เซอร์กิต

ตั้ง อยู่ที่ตำบลวัดละมุด ไปตามทางหลวงหมายเลข 3233 กิโลเมตรที่ 13-14 เป็นสนามแข่งรถระดับนานาชาติ บนพื้นที่ 20–30 ไร่ มีเกมส์มอร์เตอร์สปอร์ตให้ชมทุกเดือน ทั้งการแข่งรถวิบากและรถจักรยานยนต์วิบาก เปิดทุกวัน เวลา 08.00–18.00 น. สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3430 1642-3 กรุงเทพฯ โทร. 0 2913 7800–4 (คุณพรรณเพชร) หรือที่เว็บไซต์ www.thailandcircuit.com

 


วัดบางพระ

ตั้ง อยู่ที่ตำบลบางแก้วฟ้า ไปตามทางหลวงหมายเลข 3233 กิโลเมตรที่ 10-11 ชาวบ้านเรียกกันว่าวัดปากคลองบางพระ สร้างขึ้นสมัยอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2220 ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง พระอุโบสถหลังเก่ายาวประมาณ 8 วา กว้าง 4 วา ก่ออิฐถือปูน หลังคาลดสองชั้นหลังคามุงด้วยกระเบื้องดินธรรมดา ภายในพระอุโบสถหลังเดิมประดิษฐานพระพุทธปฏิมากรหินทรายแดงประทับนั่งปาง มารวิชัย ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว ชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อสิทธิมงคล” ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเก่าแก่สมัยอยุธยาตอนกลาง สีในภาพใช้เพียงสี ขาว ดำ แดง และเขียวใบแค มีรูปเทพชุมนุม สลับกับอดีตขององค์พระพุทธเจ้า มีการปฏิสังขรณ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 และมี “ภาพมารผจญ” เป็นภาพพระพุทธเจ้าทรงจีวรแดงประทับนั่งบนดอกบัวแก้ว แม่ธรณีบีบมวยผม “เสมาหินครก” สมัยพระเจ้าทรงธรรม กว้าง 37 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร หนา 5 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลองทำด้วยโลหะสร้างเมื่อ พ.ศ. 2496 ขนาดกว้าง 1.10 เมตร ยาว 4.20 เมตร โทร. 0 3438 9333

วัดศีรษะทอง

ตั้ง อยู่ที่ตำบลห้วยตะโก สร้างจากการร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวลาวที่อพยพมาจาก เวียงจันทน์ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในขณะที่มีการขุดดินสำหรับสร้างวัด ได้พบเศียรพระทองจมอยู่ในดิน จึงถือเป็นนิมิตที่ดี เลยได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดหัวทอง” ตั้งแต่นั้นมา เจ้าอาวาสองค์แรกคือ หลวงพ่อไต เป็นชาวลาวที่มาจากเวียงจันทน์ จากวัดเล็กๆ กลายมาเป็นวัดใหญ่ สืบทอดเจ้าอาวาสมาอีก 6 รุ่นจนมาถึง สมัยหลวงพ่อน้อย นาวารัตน์ ซึ่งได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่วัดและหมู่บ้านเป็นอย่างมาก ต่อมาทางการได้ขุดคลองเจดีย์บูชา แยกจากแม่น้ำนครชัยศรี ไปยังองค์พระปฐมเจดีย์เพื่อสะดวกในการเสด็จพระราชดำเนินไปนมัสการองค์พระปฐม เจดีย์ คลองนี้ผ่านพื้นที่ทางตอนใต้ของวัดหัวทองและหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงอพยพมาอยู่ใกล้คลองเพราะสะดวกในการคมนาคม วัดนี้จึงย้ายจากที่เดิมมาอยู่ใกล้คลองเจดีย์บูชาและเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดศีรษะทอง” ต่อมาทางราชการได้ยกขึ้นเป็นตำบลศีรษะทองสืบมาจนถึงทุกวันนี้

ที่วัดแห่งนี้ประชาชนจำนวนมากนิยมมานมัสการพระราหูเพื่อความเป็นสิริมงคล ด้วยคติความเชื่อที่ว่าพระราหูนั้นเป็นเทพซึ่งสามารถบันดาลประโยชน์และโทษ ให้เกิดขึ้นกับบุคคลหรือสิ่งต่าง ๆ ได้ ดังนั้นจึงเกิดพิธีกรรมในการบูชาพระราหูขึ้นเพื่อช่วยให้โชคร้ายอันอาจจะ เกิดขึ้นนั้นบรรเท่าลงหรือกลับแปรเปลี่ยนเป็นสิ่งดีงามกับชีวิต

ความเชื่อและวิธีการบูชา เชื่อว่าการกราบไหว้ขอพรพระราหูนั้นเป็นการขอพรให้พ้นเคราะห์ต่าง ๆ และยังดลบันดาลให้เกิดโชคลาภ ช่วยให้การงานเจริญก้าวหน้า และเชื่อว่าพระราหูยังเป็นเทพบูชาประจำตัวเพื่อเสริมบารมีของคนที่เกิดวัน พุธกลางคืนอีกด้วย แม้การบูชาพระราหูจะสามารถทำได้ตลอดวลา แต่ส่วนใหญ่จะนิยมบูชากันในวันพุธตอนกลางคืน โดยบูชาด้วยธูปดำคนละ 8 ดอก พร้อมทั้งถวายเครื่องบูชาซึ่งเป็นสีดำทั้งหมด 8 อย่าง แทนความหมายต่างกัน ได้แก่ ไก่ดำ เหล้า กาแฟดำ เฉาก๊วย ถั่วดำ ข้าวเหนียวดำ ขนมเปียกปูน ไข่เยี่ยวม้า สามารถไหว้บูชาพระราหูได้ทุกวัน (ยกเว้นวันพระ)

การเดินทาง

รถยนต์ จากกรุงเทพฯ มาตามถนนสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี เข้าสู่ถนนเพชรเกษม ผ่านหมู่บ้านสวนตาล แล้วกลับรถ จากนั้นเลี้ยวเข้าซอยไปประมาณ 500 เมตร

รถประจำทาง นั่งรถประจำทางปรับอากาศชั้น 1 หรือ ชั้น 2 สายกรุงเทพฯ-นครปฐม ผ่านแยกถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี เลยหมู่บ้านสวนตาลไปเล็กน้อยลงรถแล้วต่อรถจักรยานยนต์เข้าวัดศีรษะทอง สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3422 7462

 

วัดกลางบางแก้ว และพิพิธภัณฑ์พระพุทธวิถีนายก

เป็น วัดโบราณริมแม่น้ำท่าจีน แต่เดิมชื่อวัดคงคาราม ตั้งอยู่ที่ตำบลนครชัยศรี ภายในมีโบสถ์ วิหาร และพระประธานเก่าแก่ ซึ่งนักโบราณคดีสันนิษฐานว่า สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในมีพิพิธภัณฑ์พระพุทธวิถีนายก ก่อตั้งขึ้นโดยพระครูสิริชัยคณารักษ์ เจ้าคณะอำเภอนครชัยศรีและเป็นเจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้วคนปัจจุบัน เพื่อเก็บรักษาโบราณวัตถุและศิลปะวัตถุล้ำค่าต่างๆ รวมทั้งข้าวของเครื่องใช้ของอดีตเจ้าอาวาส 2 รูป คือ หลวงปู่บุญ หรือ ท่านเจ้าคุณพุทธวิถีนายก(บุญ ขันธโชติ) ซึ่งปกครองวัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2429–2478 และหลวงปู่เพิ่ม พระพุทธวิถีนายก(เพิ่ม ปุญญวสโน) ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของหลวงปู่บุญและสืบตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดต่อมา

ภายในแบ่งออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่

ชั้นที่หนึ่ง จัดแสดงประวัติและข้าวของเครื่องใช้ของหลวงปู่บุญและหลวงปู่เพิ่ม เครื่องรางของขลัง วัตถุมงคลและพระบูชาของหลวงปู่ อีกส่วนหนึ่งจัดเป็นเรื่องตัวยาไทย สมุนไพร ยารักษาโรค ปฏิทินโหราศาสตร์เขียนด้วยลายมือหลวงปู่ รูปปั้นและรูปถ่ายของหลวงปู่ นอกจากนี้ยังมีคัมภีร์ใบลาน สมุดข่อย ตำราโหราศาสตร์ ตำรายาไทย สมุดภาพพระมาลัย

ชั้นที่สอง จัดแสดงเครื่องถ้วยชามของใช้ แก้วเจียระไน เครื่องทองเหลือง ธรรมาสน์มุกของหลวงปู่บุญ ซึ่งพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 สร้างถวาย

ชั้นที่สาม จัดแสดงพระบุเงิน และพระบูชาไม้แกะ ธรรมาสน์บุษบกเก่าสลักไม้ลงรักปิดทอง และกุฏิเก่าของหลวงปู่ที่นำมาประกอบในลักษณะเดิม เพื่อประดิษฐานหุ่นขี้ผึ้งของหลวงปู่เหมือนกับสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่

พิพิธภัณฑ์เปิดทุกวันพฤหัสบดี - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชมผู้ใหญ่ 20 บาท เด็กนักเรียน นักศึกษา 10 บาท (เข้าชมเป็นหมู่คณะ ต้องทำหนังสือจดหมายติดต่อล่วงหน้า เรียน เจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว) สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3433 1462, 0 3433 2182

การเดินทาง
รถยนต์
เส้นทางที่ 1 ไปตามถนนบรมราชชนนีหรือปิ่นเกล้า-นครชัยศรี ข้ามสะพานแม่น้ำท่าจีน แล้วกลับรถเลี้ยวเข้าพุทธมณฑลสาย 7 ไปตามเส้นทางนครชัยศรีสายใน ผ่านหน้าวัด
เส้นทางที่ 2 จากถนนเพชรเกษม แยกเข้าตลาดนครชัยศรี เลี้ยวขวาไปอีก 1 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 3 จากทางแยกพุทธมณฑลสาย 4 ผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ตามถนนราดยางสายใหม่ข้ามสะพานเข้าตลาดนครชัยศรี แล้วเลี้ยวซ้ายต่อไปวัด
รถไฟ ลงที่สถานีนครชัยศรี แล้วต่อรถประจำทาง
เรือ ไปตามลำน้ำท่าจีน ขึ้นท่าน้ำหน้าวัด


โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น

ตั้ง อยู่ที่ตำบลบางแก้วฟ้า จัดรายการพิเศษทุกวันเสาร์ อาทิตย์ ในรูปของ “ทัวร์สุขภาพ” มีการตรวจสุขภาพพร้อมจัดรายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (ล่องเรือชมตลาดน้ำลำพญา) ชมธรรมชาติของแม่น้ำนครชัยศรี นวดแผนไทย เยี่ยมชมสินค้าและผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน มีทั้งรายการไปเช้า-เย็นกลับ 1 วัน จัดทุกวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ 2 วัน 1 คืน สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3427 7085-8 ต่อ 888, 0 1299 6845(คุณหทัยรัตน์), 0 1763 6574 (คุณน้ำค้าง) หรือ www.geocities.com/Luangphopern

การเดินทาง ไปตามเส้นทางกรุงเทพฯ-นครปฐม(เพชรเกษม) แยกขวาตรงแยกท่านา จากนั้นขับตรงไปพอถึงสี่แยกนครชัยศรี เลี้ยวซ้ายแล้วตรงไปเรื่อยๆพอถึงสามแยก เลี้ยวซ้ายอีกครั้ง (ทางจะไปดอนตูม) แยกขวาตรงสี่แยกวัดละมุดขับตรงไปผ่านวัดบางพระ


เนินพระ หรือ เนินยายหอม

อยู่ ที่วัดดอนยายหอม ตำบลดอนยายหอม จากจังหวัดนครปฐมไปตามถนนเพชรเกษมมุ่งเข้ากรุงเทพฯ ประมาณ 5 กิโลเมตร จะเห็นสามแยกเลี้ยวขวาเข้าถนนเศรษฐกิจ 2 (ทางหลวงหมายเลข 3097 บ้านแพ้ว-ดอนยายหอม) เข้าไปประมาณ 8 กิโลเมตร จะถึงเนินพระหรือเนินยายหอมซึ่งอยู่ด้านซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 150 เมตร อยู่กลางทุ่งนาใกล้กับถนนสายนครปฐม อำเภอบ้านแพ้ว เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่มากเมื่อ พ.ศ.2479 พระธรรมวาทีคณาจารย์ (หลวงพ่อเงิน) เจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม ได้ขุดเอาอิฐที่หักพังแถวชานเนินไปสร้างพระอุโบสถ เมื่อขุดลึกลงไปพบศิลาเหลี่ยมเขียวสองต้น สูงประมาณ 4 เมตร มีลายจำหลักที่ปลายเสา คล้ายกับเสาประตูสาญจีเจดีย์ของพระเจ้าอโศกมหาราชกับกวางหมอบ ทำด้วยศิลา 1 ตัว พระพุทธรูปศิลาสมัยทวาราวดี 1 องค์ พระเสมาธรรมจักรทำด้วยหินแต่หักพัง เสาศิลานี้ตอนบนมีง่ามสำหรับวางพระเสมาธรรมจักร เป็นแบบเดียวกับที่พบในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์วัดพระงาม วัดพระประโทณ และพระราชวังสนามจันทร์ ปัจจุบันเสาศิลานี้อยู่ที่วัดดอนยายหอม ส่วนกวางหมอบกับพระพุทธรูปส่งไปเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จากโบราณวัตถุที่พบเหล่านี้เป็นหลักฐานยืนยันว่าเดิมบริเวณนี้เป็นวัดเก่า และตัวเนินคงจะเป็นฐานเจดีย์ขนาดสูงใหญ่ที่อยู่ภายในบริเวณวัด ตั้งแต่สมัยทวาราวดีหรือก่อนหน้านั้น และมีอายุกว่า 1,000 ปี มาแล้ว ถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และสำคัญ


เนินธรรมศาลา

อยู่ ที่วัดธรรมศาลา ตำบลธรรมศาลา ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ไปทางตะวันออกประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่ทางด้านใต้ของถนนสายเพชรเกษม มีสภาพเป็นเนิน เข้าไปด้านในเป็นโพรงซึ่งเชื่อว่าเป็นอุโมงค์จากวัดพระเมรุมาถึงวัดธรรม ศาลา เล่าลือกันว่าภายในอุโมงค์มีขุมทรัพย์ เช่น ถ้วยโถโอชาม แต่ไม่สามารถ ที่จะนำออกมาได้ เนื่องจากมีปู่โสมเฝ้าทรัพย์ไว้


เนินวัดพระงาม

ตั้ง อยู่ที่วัดพระงาม(วัดโสดาพุทธาราม) ตำบลนครปฐม ไม่ไกลจากสถานีรถไฟนครปฐม เป็นสถานที่ที่ค้นพบพระเจดีย์ขนาดสูงใหญ่สมัยทวาราวดีและยังขุดค้นพบโบราณ วัตถุต่างๆ เช่น พระพุทธรูปศิลาหักพัง พระเสมาธรรมจักร กวางหมอบ พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ และพระพิมพ์ดินเผาซึ่งเป็นของเก่าแก่ฝีมืองดงามมากยากจะหาที่อื่นเทียบได้ สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายว่า ที่เรียกว่า วัดพระงาม นั้นเพราะพระพุทธรูปดินเผาที่ขุดได้จากบริเวณวัดนี้งามเป็นเลิศนั่นเอง ปัจจุบันบางส่วนเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และหลายชิ้นเก็บไว้ที่องค์พระปฐมเจดีย์ โบราณวัตถุที่ขุดค้นพบในบริเวณนี้ล้วนแต่เป็นวัตถุเก่าสมัยทวาราวดีซึ่งเป็น สมัยเดียวกับวัตถุที่ค้นพบบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์

ตลาดโบราณ 100 ปี รางกระทุ่ม

ตั้ง อยู่ที่ตำบลบางภาษี ริมแนวคลองพระพิมลและคลองบางภาษี ซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำท่าจีน ห่างจากอำเภอบางเลนประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นตลาดริมน้ำแบบดั้งเดิม สามารถสัมผัสบรรยากาศของบ้านเรือนไม้เก่า หรือวิถีชีวิตที่เรียบง่าย มีการค้าขายสินค้าท้องถิ่นแบบดั้งเดิม เช่น ร้านขายกาแฟโบราณ เป็ดพะโล้ ขนมครกโบราณ หมี่กรอบโบราณ ขนมทองม้วนมิ่ม และมีบ้านโบราณ (ร้านบังเอิญพาณิชย์) อยู่ในตลาดรางกระทุ่ม มีอุปกรณ์การค้าขายของแบบโบราณที่ยังคงเก็บรักษาไว้อย่างดี เช่น การขายกาแฟโบราณ การทำขนมแต่งงาน เครื่องพิมพ์ขนมโก๋ เครื่องพิมพ์ขนมกวางตุ้ง เครื่องพิมพ์ถั่ว และเครื่องเล่นเพลง เป็นต้น ตลาดโบราณเปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทศบาลตำบลรางกระทุ่ม โทร. 0 3496 2295 เว็บไซต์ www.rangkrathum-municipality.org

การเดินทาง
รถยนต์
จากสามแยกอำเภอบางเลนใช้เส้นทางบางเลน-ลาดหลุมแก้ว บนถนนสายนี้จะมีเส้นทางเข้าตลาดรางกระทุ่มเป็นระยะ จำนวน 4 เส้นทาง
รถโดยสาร
จากตลาดอำเภอบางเลนสามารถนั่งรถประจำทางสายปทุมฯ-บางเลน มาลงปากทางเข้าตลาดรางกระทุ่ง แล้วนั่งรถมอเตอร์ไซต์รับจ้างมาตลาดโบราณฯ หรือ จากกรุงเทพฯ มีรถออกจากสถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร สายหมอชิต-กำแพงแสน มาลงที่ปากทางวัดเวฬุวณาราม แล้วให้ข้ามฟากถนนมานั่งรถมอเตอร์ไซต์รับจ้างมาตลาดโบราณฯ


สักการสถาน บุญราศีนิโคลาส บุญเกิด

ตั้ง อยู่ที่ตำบลท่าข้าม อำเภอสามพราน สักการสถานแห่งนี้เป็นที่เก็บอัฐิและหุ่นขี้ผึ้งของคุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด รวมทั้งประวัติข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้คนได้สักการะและรำลึกถึงท่าน อาคารเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่มีโครงสร้างและรูปทรงซึ่งแฝงไว้ด้วยความ หมายเช่น ไม้กางเขน คือกาเขนชัย ที่พระเยซูได้ประกาศให้โลกได้รับรู้ไว้ว่าเป็นกางเขนที่พิชิตความตายและบาป ถือเป็นแสงสว่างที่นำชีวิตมาสู่โลก แท่นที่ทูนกางเขนมีสามชั้นคือพระตรีเอกภาพ ได้แก่ พระบิดา พระบุตร และพระจิต หลังคาแบ่งเป็นสามระดับคือสิ่งที่พระตรีเอกภาพได้ประทานไว้ให้กับโลกคือ ความเชื่อ ความไว้ใจ และความรัก ตัวอาคารแปดเหลี่ยมเป็นสัญลักษ์แห่งมหาบุญลาภ 8 ประการที่พระเยซูคริสต์ได้ทรงประกาศให้กับโลก

คุณพ่อนิโคลัส บุญเกิด กฤษบำรุง เกิดเมื่อพ.ศ. 2438 ได้รับศีลบวชเป็นพระสงฆ์เมื่อ พ.ศ. 2469 และได้ทำงานอภิบาลที่วัดหลายแห่งทั่วประเทศ มีใจเมตตาต่อคนยากจนและกระตือรือร้นในงานธรรมฑูต ในช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดของการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ทำให้เกิดการเข้าใจผิดต่อศาสนาคริสต์ ทำให้ท่านถูกจับกุมในปี พ.ศ. 2484 เมื่ออายุ 49 ปี โดยถูกกล่าวหาว่าช่วยฝรั่งเศสในสงครามอินโดจีน แม้ในช่วงอยู่ในเรือนจำท่านยังได้เผยแพร่คำสอนและโปรดศีลล้างบาปให้นักโทษ ที่ใกล้ตายถึง 68 คน ถือเป็นการทำหน้าที่ประกาศข่าวดีแก่ผู้ที่อยู่ในเรือนจำให้ได้รับชีวิตใหม่ ในองค์พระผู้เป็นเจ้า ความเชื่อมั่นศรัทธาและความดีของคุณพ่อนิโคลาสเลื่องลือไปยังพระศาสนจักร แห่งโรม โดยในวันที่ 5 มีนาคม 2543 สมเด็จพระสันตปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ประกอบพิธีสถาปนาท่านเป็นบุญราศีมรณสักขี ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี และได้มีการสร้างสักการสถานบุญราศีนิโคลาส บุญเกิด ในจังหวัดนครปฐม เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ท่านในเวลาต่อมา

การเข้าชมควรติดต่อขออนุญาตจากบาทหลวงผู้รับผิดชอบก่อนล่วงหน้า โทร. 0 3429 2143


สวนสมุนไพรสิรีรุกขชาติ

ตั้ง อยู่ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล สร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรไทย สำหรับศึกษา วิจัย พัฒนา และการเรียนรู้ของสังคม มีพื้นที่ประมาณ 38 ไร่ รวบรวมพันธุ์สมุนไพรกว่า 1,200 ชนิด จัดปลูกไว้ในลักษณะต่าง ๆ กัน พร้อมแสดงป้ายชื่อและสรรพคุณที่ชัดเจน จึงเหมาะที่จะเป็นห้องเรียนธรรมชาติสำหรับนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งผู้สนใจ คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ได้พิจารณาให้เป็นโครงการดีเด่นแห่งชาติ สาขาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ด้านสมุนไพร) ประจำปี 2539

พื้นที่สวนแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นเรือนเพาะชำ ปลูกสมุนไพรที่ต้องการการดูแลพิเศษ ส่วนที่สองเป็นสวนหย่อมสมุนไพร และส่วนสุดท้ายปลูกในลักษณะสวนป่า เพื่อแสดงระบบนิเวศที่สมุนไพรเติบโตอย่างเป็นธรรมชาติ มีสมุนไพรที่ใที่หาชมได้ยากหลายชนิด เช่น โมกราชินี สิรินธรวัลลี สามสิบกีบน้อย และจิกดง ซึ่งเป็นพืชชนิดใหม่ของโลก มะลิซาไก สมุนไพรหายากที่ใช้เป็นยาคุมกำเนิดของชนเผ่าซาไก กำแพงเจ็ดชั้น กวาวเครือขาว และกวาวเครือแดง รวมทั้งสมุนไพรที่เป็นพืชผักพื้นบ้านอีกหลายชนิด

ผู้สนใจสามารถเข้าชมได้ทุกวันตั้งแต่เวลา 7.00 - 17.30 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ หากต้องการเข้าชมเป็นหมู่คณะและผู้นำชมเพื่อให้ได้ความรู้อย่างครบถ้วน สามารถติดต่อล่วงหน้าที่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่กรุงเทพฯ โทร. 0 2644 8678 - 90 ต่อ 5550 โทรสาร 0 2644 8696
ดูรายละเอียดได้ที่ www.pharmacy.mahidol.ac.th


ตลาดน้ำวัดกลางคูเวียง

ตั้ง อยู่ที่ตำบลสัมปทวน มีจำหน่ายอาหาร ผลไม้นานาชนิดและแพปลา ทั้งยังมีบริการล่องเรือชมทิวทัศน์แม่น้ำนครชัยศรี ชมวิถีชีวิตชุมชนและเที่ยวชมวัดต่างๆ ติดต่อเรือศรีสุขสันต์ สามารถล่องไปทางทิศเหนือไปวัดลำพญา หรือ ทางทิศใต้ไปวัดไร่ขิง โทร. 0 3429 9036, 0 1829 8035 (กรุณาติดต่อล่วงหน้า)

ล่องเรือแม่น้ำนครชัยศรี

ดิน แดนแห่ง ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวสวย เอกลักษณ์เหล่านี้แม้จะมีมานานแต่ก็ยังคงความเด่นอันเป็นลักษณะเฉพาะไว้ได้ ที่นครชัยศรี การล่องเรือเที่ยวในแม่น้ำนครชัยศรี (แม่น้ำท่าจีน) มีเรือออกจากท่าเรือหน้าอำเภอนครชัยศรี เป็นเรือเช่า เรือรับจ้าง ไปชมฟาร์มกุ้ง สวนผลไม้ เช่น ส้มโอ และองุ่นใช้เวลาในการล่องเรือประมาณ 1-2 ชั่วโมง สอบถามได้ที่ ท่าเรือหน้าที่ว่าการอำเภอนครชัยศรีหรือตามร้านอาหารที่มีบริการเรือให้เช่า

 

อุทยานปลาวัดห้วยพลู

ตั้ง อยู่หมู่ที่ 1 ตำบลห้วยพลู จะมีปลามาอยู่รวมกันโดยธรรมชาติในแม่น้ำนครชัยศรี(ท่าจีน) เช่น ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาตะเพียน ปลาหางแดง มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาพักผ่อนให้อาหารปลาทุกวัน โดยเฉพาะเวลาช่วงเย็น
นอกจากนี้ บริเวณท่าน้ำหน้าวัดเกือบทุกแห่งที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำนครชัยศรี เช่น วัดไร่ขิง วัดห้วยพลู วัดกลางคูเวียง

 
 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations