www.AvisThailand.com
โทร. 662-2511131-2
662-2555300-4
668-1-3785697
หน้าหลัก เกี่ยวกับราคา รู้จัก Avis ติดต่อ ลิงค์
ข้อเสนอล่าสุด บริการจองรถเช่า คู่มือเช่ารถ บริการ Avis เช่ารถระยะยาว รถเช่าพร้อมคนขับ บริษัททัวร์ Avis used Car
กรุงเทพฯ ชะอำ หัวหิน เชียงใหม่ เชียงราย หาดใหญ่ ขอนแก่น กระบี่ นครศรีธรรมราช
พัทยา พิษณุโลก ภูเก็ต สมุย สุราษฎร์ธานี ตรัง อุดรธานี  อุบลราชธานี  

UTHAITHANI

UTHAITHANI : General Information

      Uthai Thani is a province abundant in natural resources, such as forests and wildlife. “Huai Kha Khaeng Wildlife Reserve” here was proclaimed a Nautral World Heritage Site on 13 December 1991. The reserve has jungles, forests, plains, many streams, and most importantly, a number of rare and endangered animals.
      
avis


       Due to the verdant nature of the area, Uthai Thani is a province with unspoiled natural tourist destinations that are of interest to tourist everywhere.

       Furthermore, visitors can see the different lifestyles of locals, such as the life of raft residents on Sakae Krang River, a waterway that aided the birth of the province and which has been a lifeline for its people since ancient times. It is also where provincial trading has flourished. Life revolving around the river eventually grew from a community into the major province that it is today.

       The most striking indication of the bond between the people and the river since the old days is that in 1906, when King Rama V visited northern provinces and stayed in Sakae Krang village, the monk Phra Khru Uthai Tham Nithet (Chan) built 2 twin rafts to receive the king. This clearly showed the importance of the river and the lifestyle of the people living off it in that period.
In addition, at the end of the Buddhist Lent, Buddhists from all directions congregate in the province for a major merit-making tradition called Tak Bat Thewo at the foot of Khao Sakae Krang at Wat Sangkat Rattana Khiri. This festival has been held in Uthai Thani since ancient times.

       Uthai Thani is located in the lower part of northern Thailand. Most of the province consists of forests and high mountains. It has a total area of 6,730 square kilometres. It is divided in to 8 Amphoe (districts), as follows:
Amphoe Muang Uthai Thani
Amphoe Lan Sak 58 kms. from the city
Amphoe Nong Kha Yang 11 kms. from the city
Amphoe Nong Chang 21 kms. from the city
Amphoe Thap Than 16 kms. from the city
Amphoe Ban Rai 79 kms. from the city
Amphoe Sawang Arom 30 kms. from the city
Amphoe Huai Khot 51 kms. from the city

Boundary

North borders Amphoe Phayuha Khiri, Amphoe Krok Phra and Amphoe Lat Yao of Nakhon Sawan.

South borders Amphoe Wat Sing and Amphoe Han Kha of Chai Nat and Amphoe Doem Bang Nang Buat of Suphan Buri.

East borders Amphoe Phayuha Khiri of Nakhon Sawan and Amphoe Manorom of Chai Nat. The Chao Phraya River divides the provinces.

West borders Amphoe Um Phang of Tak and Amphoe Sangkhla Buri and Amphoe Si Sawat of Kanchanaburi.

Distances from Amphoe Muang to nearby provinces

Chai Nat 42 kms.
Nakhon Sawan 50 kms.
Lop Buri 111 kms.

UTHAITHANI : How to get there
By Car

1. From Bangkok, take Highway No. 32, passing Phra Nakhon Si Ayutthaya, ang Thong, Sing Buri, and Chai Nat, then turn left at Tha Nam Oi at Km.206. From there, cross the bridge spanning the Chao Phraya River and turn left onto Road No. 333 for 16 km. The total distance is around 222 kilometres.

2. From Bangkok, take Highway No. 32 pass Phra Nakhon Si Ayutthaya, then turn left across the bridge to Ang Thong. Go through Sing Buri, Amphoe Sapphraya, Chao Phraya Dam, Amphoe Wat Sing, Wat Tha Sung, and into Uthai Thani Market. The total distance is about 283 kilometres.

3. From Bangkok, take Road No. 340 past Suphan Buri, turn left onto Road No. 357, then right onto No. 322 past Amphoe Don Chedi. From there, turn right onto Road No. 3264 to Ban Sa Krachom. Then turn right onto Road No. 333 to Ban Rai intersection and another right to Amphoe Mueang. The total distance is about 302 kilometres.

By Bus

There are daily regular and air-conditioned Bangkok – Uthai Thani buses during 05.00-16.00 hrs. For more information, please contact the Northern Bus Terminal (Mo Chit), Tel: 0 2936 2852-66, and Uthai Thani Bus Terminal, tel 0 5651 1914 or visit www.transport.co.th

THAITHANI : Activities

Khao Plara

Khao Plara is a border between Ban Huai Sok in Amphoe Lan Sak and Tambon Khao Bang Kraek in Amphoe Nong Chang. Khao Plara is a large steep mountain with a height of approximately 598 metres. The forest is quite unspoilt. Visitors have to travel by foot and climb up the mountain for 900 metres, taking about 2 hours to get to the top of the mountain, where they can admire the beautiful sight of its topography. On the top of the mountain, a large plain lies covered with Makha – Afzelia xylocarpa - forest.

On the west cliff at the height of 320 metres, approximately 3,000 year-old cave paintings from the pre-historical period were found. They were drawn with black and red lines. The black lines are quite pale but the red ones can still be seen. The paintings were drawn along the cliff for a total distance of about 9 metres, and they are mostly painted red. There are groups of about 40 pictures including pictures of humans in many characteristics and animal pictures. Those pictures depict the way of life of ancient humans, which is important historical heritage of Uthai Thani.

Archaeologists divided the groups of paintings on Khao Plara into 4 groups. Group one are pictures of humans with pets (believed to be dogs). Group two are pictures which show the relationship between human and cow, catching the wild cow and the way to bring it back to take care of it. Group three are pictures of rituals. Humans in the pictures had certain accessories, different from others with animals that look like monkeys. Group four includes miscellaneous pictures, most of which are pictures of animals. The coloured paintings were elaborately made and look more life-like than other places. For travellers who would like to climb up Khao Plara: it is suggested that they should prepare drinking water, and put on suitable trainers because the path is made of sliding small grains of rocks. It is recommended that they should carry only necessary things.

To get there, take Highway 333 from the city, passing Amphoe Nong Chang. Then, take Highway 3438, Nong Chang - Lan Sak route for about 21.5 km. Khao Plara is on the left. Turn left along an asphalted road for about 7.5 km. Otherwise, take a bus (Uthai Thani – Lan Sak) then, take a bus from Lan Sak to Huai Sok Intersection and hire a motorcycle to the Khao Plara Non-hunting Area.

Mueang Boran Bueng Khok Chang

Mueang Boran Bueng Khok Chang, Tambon Phai Khiao, is surrounded by a city ditch and earth wall. Ancient ruins, pottery, stones for pulverizing herbs, metal tools, and yellow beads, as well as three ancient Khmer inscription stones were found here. At present, this historical site is a forest garden, covered with large trees, but the city ditch has become shallow. The discovered artefacts are kept in the Local Historical and Cultural Museum, in the Non-formal Education Centre, Uthai Thani, near the City Hall. To get there, take Highway 3221 from Amphoe Mueang, passing Amphoe Thap Than. Turn into Highway 3013, passing Amphoe Sawang Arom. Then, take Highway 3456 for about 14 km. bound toward Amphoe Lan Sak. There will be a stupa and a sign leading to Bueng Khok Chang on the left. This route leads through the old city of Bueng Khok Chang.

Old City of Uthai Thani

Old City of Uthai Thani is located at Ban Uthai Thani Kao. It was the location of Mueang Uthai Thani since the Ayutthaya Period. Now the ruins still exist, such as Wat Hua Mak, Wat Yang, and Wat Kuti, while the surrounding areas have become rice fields. The temple which remains the same until now is Wat Chaeng. In this temple, there is a prang built in 1538 whose top was destroyed by the Burmese army. The latest repair was in 1985. The old ordination hall is small and has one door, in a style of the late Ayutthaya period. The stucco relief pattern of the prang and on the ordination hall’s gable were made by the same craftsmen. The mural paintings in the ordination hall were made after the latest repair, which depicts the duty of King Taksin the Great. Another remaining temple is Wat Hua Mueang which has ruins of an Ayutthayan-styled ordination hall and small ancient pagoda in front of the old ordination hall.

To get there, from Nong Chang Market at Prasat Wet School T-Junction, drive along the route to Wat Nong Khun Chat. Turn right at the T-junction and drive toward the opposite direction to Wat Nong Khun Chat for about 1 km. until you arrive at Wat Chaeng. Wat Hua Mueang is 1 km. beyond from Wat Chaeng.

Wat Uposatharam (Wat Bot Manorom)

Wat Uposatharam formerly named Wat Bot Manorom, is sometimes called Wat Bot. It is an old temple on the Sakae Krang Riverside, on Ko Thepho, in the Mueang Municipality area. From the municipal fresh market, cross the bridge to the temple which is on the east side of the river. The interesting things to see include mural paintings in the ordination hall and wihan, which were made in the early Rattanakosin era. The paintings in the ordination hall were elaborately made, depicting the biography of Lord Buddha from the time when he was born until he died. In the wihan, there are paintings of Lord Buddha, preaching to gods in Heaven and the scene when he was resolving to enter nirvana. On the upper part of the wall, there is a picture of a gathering of monks, switching with Phat Yot, a long-handled fan of an ecelesiastical rank, which seems to show respect to the principal Buddha image. On the outside wall in front of the wihan, there is a picture of Lord Buddha’s cremation and the picture of villagers’ ways of life along the Buddhist concepts. It is believed to have been made by craftsmen of a later time. In addition, inside Wat Uposatharam, there are other interesting things to see, such as Sema, a leaf-like boundary sign made of red stone, in front of the ordination hall, a cabinet to keep Buddhist scriptures and a storage closet painted with the floral Kanok vine pattern. In addition, there is a Bat, a monk alms-bowl, with the lid decorated with mother-of-pearl inlay which was given by King Rama V and made by Chang Sip Mu (the Ten Departments of Craftsmen), as well as a Hong - Hamsa or Swan - on top of the column. There are also many attractive forms of architecture to visit such as the Octagonal Mondop which is a combination of the Western and Thai styles and has a decoration made of stucco, looking like climbing plants on the window frames; a high-relief cement Buddha image which is situated outside the building; three chedis of 3 periods comprising hexagonal chedi of the Ayutthaya period, a chedi with twelve angles of the Rattanakosin period, and a bell-shaped chedi of the Sukhothai period; Uthai Phutthasapha Conference Hall which is a pavilion in a typical Thai style, used as a praying hall, having a gable with stucco relief decoration; and Phae Bot Nam, a floating ordination hall in front of the temple which was built to receive King Rama V when he visited the North Circle in 1906. It was formerly a twin raft-house with Cho Fa - a gable apex, and Bai Raka - a leaf-shaped roof-edging, like other ordination halls. On the gable, there is a circle with Pali scripts reading “Su Agata Te Maha Raja” which means Maha Raja - great king - comes well. Later, in 1976, it was repaired to be one 2-storeyed building, including a raised platform, with a hip roof. The circle was moved to place in the middle of the gable. This Phae Bot Nam is used in religious rites such as weddings, ordinations, funerals, and various merit-making occasions.

Ko Thepho

Ko Thepho was formerly a cape between the Chao Phraya River and Sakae Krang River, which met together at the south of the cape. Later, a canal was excavated to link both rivers in the northern part in order that the water from the Chao Phraya River will add to the Sakae Krang River in case of lack of rain. This cape therefore became Ko Thepho.

Ko Thepho is an interesting point for travellers who love cycling. The journey on the isle starts after you cross a bridge which links between the municipal fresh market and Wat Ubosatharam. The bridge is not so long and quite narrow since it provides a small lane for only two motorcycles. Along both sides of the road, there is a bamboo forest, corn and rice field, with a peaceful, shady atmosphere. Local people here earn a living by planting “Manorom” and “Khao Taeng Kwa” pomelo, and Mafai.

When visitors pass Ban Tha Din Daeng, they can see people selling Suea Lamphan, a mat made of bamboo, in front of their houses, not at the market. If travelling to Wat Phum Tham, it is possible to see a recreation hall with a serene atmosphere. After finishing cycling and reaching the end of the marked route, they will arrive at the pier to cross to Tha Sung. The total distance of the cycling route on this isle is 33 km.

Tourists can contact Khun Somprasong Srimueang to ask for a map of Ko Thepho and the city of Uthai Thani. Also attend the Uthai Thani Cycling for Health Club (Charoeun Chakayan Shop) 101-102 Tha Chang Road, Amphoe Mueang, Tel. 0 5651 1991 everyday.

Wat Mani Sathit Kapittharam

Wat Mani Sathit Kapittharam is located on Sunthon Sathit Road, behind the health garden, at the Clock Tower Circle. This temple was constructed in the Rattanakosin period, and local people call it Wat Thung Kaeo. Inside the temple, there is a large five-pinnacled prang, with a width of 8 metres and a height of 16 metres, which was built in 1909. The prang contains the relics of Lord Buddha and the image of Luangpho Yaem who constructed this temple. In the area of the temple, there is a large holy water pool made of bricks and a stone tablet with magic scripts of Luangpho Yaem located in the middle of the pool. Its water was once used to bathe the king in the coronation ceremony of King Rama VI and King Rama VII.

Khao Sakae Krang

Khao Sakae Krang is a mountain where you can use stairs from the temple court of Wat Sangkat Rattanakhiri to climb up to the top. Otherwise, take Highway No. 3220 for 4 km. Pass the provincial stadium and drive along the route to the top of the mountain where you can admire the beautiful panoramic sights of Uthai Thani. It houses the replica of Lord Buddha’s footprint, built in 1905 and moved from Wat Chantharam. In front of the mondop, there is a large bell which was constructed by Phra Palat Chai and the people of Uthai Thani in 1900. It is believed to be a holy bell which all tourists coming to Uthai Thani should not miss to tap. Near the mondop on top of the mountain, there is a statue of Somdet Phrapathom Borommahachanoknat or the Royal Father of King Rama I, whose name of birth was Thongdi. Later, he was designated to be Phra Akson Sunthonsat, a chief clerk of the Interior Department. In the Ayutthaya era, he was Chaophraya Chakri Si Ongkharak. After that, in the Rattanakosin era, King Rama I (who was formerly called Thongduang) promoted the relics of his father to be Somdet Phra Chanakathipbodi in 1795. The Statue of King Rama I’s Royal Father was cast in double life size, sitting on a seat. In his left hand, a sword of the position of Chaophraya Chakri is kept in the sheath and put on the left thigh. The statue puts its right hand on the right thigh. On his right, there is a Phra Mala Sao Sung, a royal hat without Yi Ka (bird feather), placed on a footed tray. He wears sandals. There is a ceremony to pay respect to the statue on 6 April of every year, at the same period when Suphannika or Fai Kham – yellow cotton trees, the symbolic flower of Uthai Thani, bloom all over Khao Sakae Krang. In the forest behind the mountain, approximately 200 metres from the statue, there is a world map pin, a tool for mapping, which was built in 1932.

Wat Thammakhosok
Wat Thammakhosok or called “Wat Rong Kho” by villagers was built in the early Rattanakosin period. It is on Si Uthai Road, Tambon Uthai Mai in the municipality. It was used to hold rites by Uthai Thani government officials to pledge allegiance to the king as well as an execution site. The most interesting places in the temple are the chapel and the main Buddha image hall. The chapel is of the Rattanakosin period. A tiled roof covers the building. The Buddha image here is highly sacred. There are beautiful murals inside, the works of late Ayutthaya artists. The main hall is a larger building that is higher than the chapel. A pedestal inside has around 20 Buddha images on it. The outer windowpanes have plaster drawings of the epic Ramayana as frames. The doors have wooden floral patterns painted in bright red.

Wat Tha Sung

Wat Tha Sung (another name is Wat Chantharam) is at Mu 2, Tambon Nam Sum. It is an old temple from the Ayutthaya period. It was formerly called “Wat Chan” which is the name of an abbot. Wat Chantharam later was abandoned until 1789 when the monk Luang Pho Yai came here. Villagers asked him to become the abbot of the temple and he renovated it. The first location of the temple was on the bank of Sakae Krang River. The artifact of the place is a pulpit built by Luang Pho Yai that is opposite the temple. More buildings were later added by the monk Phra Ratchaphrom Yan Nen (Luang Pho Ruesi Ling Dam). The new convocation hall is beautiful with an ornately decorated interior. The inner windows and doors have pictures of angels. His Majesty the King presided over a ceremony to officially open the building. Surronding the building is a traditional columned wall. Images of Luang Pho Pan and Luang Pho Yai 3 times the actual size is at the corner of the front wall. Furthermore, the new site has a wide area as well as many pavilions with accommodation for meditation. The main hall is open during 09.00-11.45 hrs. and 14.00-16.00 hrs. daily.

Getting There: From the city, take Road No. 3265 to the ferry at Amphoe Manorom, about 6 kilometres away. Wat Than Sung is on both sides.

Tham Hup Pa Tat

Hup Pa Tat is a large valley with an area of about 48,000 square metres. The mountain range surrounding the valley is a limestone range. Part of it is Khao Huai Sok that connects with Khao Pla Ra, about 1 kilometre away. The way up to the cave is a margosa forest. Upon reaching the cave mouth you will see a dark cave. After a walk of around 100 metres, you will emerge from darkness and see the way down to the valley. Looking around you will see a limestone mountain surrounded by high cliffs. This enables sunlight to reach the ground only at midday. Therefore, the valley has higher humidity than other parts and this contributes to a wealth of flora. The thick jungle features gigantic shrubs of the genus Excoecaria that are similar to prehistoric trees.

Getting There: Use the same route as Khao Pla Ra. It is 300 metres before the mountain.


Thung Yai Naresuan – Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary

Thung Yai Naresuan – Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary has begun to be known since it was registered as a World Heritage Site by UNESCO in December 1991.

Huai Kha Khaeng has an area of 3,609,375 rai or 5,775 square kilometres, covering an area of 6 districts of 3 provinces: Amphoe Ban Rai, Amphoe Lan Sak, and Amphoe Huai Khot in Uthai Thani; Amphoe Sangkhla Buri and Amphoe Thong Pha Phum in Kanchanaburi; and Amphoe Umphang in Tak. It also includes the area of Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary, so this is the largest connected conserved forest in Thailand and the South East Asia Region.

The weather is very hot in summer, and it rains heavily all day in the rainy season, while the winter lasts for a very short period.

Huai Kha Khaeng was announced to be a World Heritage Site because of its natural diversity, including 5 out of 7 kinds of tropical forests which are dry evergreen forest, montane forest, savanna, mixed deciduous forest, and deciduous dipterocarp forest. These forests are blessed with biodiversity. Some of the fauna are nearly extinct, such as wild water buffalo, serow, leopard, Asiatic wild dog, red junglefowl cock, green peafowl and many species of forest insects.

Normally, the wildlife sanctuary does not open for tourists because it is a conserved, high-sensitive area. A lot of people’s visits may destroy the ecological balance. However, after the sanctuary was announced to be a World Heritage Site and became well known to the public, it has permitted travelers to visit only 3 points of areas to learn about nature without staying overnight. Therefore, tourists have to follow the rules strictly. Those permitted areas are: 1. The Headquarters of Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary; 2. Cyber Ranger Station (see further details in the Cyber Waterfall); and 3. Huai Mae Di Ranger Station (in the area of Amphoe Ban Rai, on Route 3011, Huai Mae Di – Ban Mai Khlong Angwa. There is a nature study route.

In the area of the headquarters of the wildlife sanctuary, there is a statue of Seub Nakhasathien, facing southwest to see how the Western Forest changes through time. There is an 8-stepped stairway which represents the time of 8 months when Seub was in the position of the head of the sanctuary. The pattern on the stairs represents the obstacles in his work.

Seub Nakhasathien Memorial Building is a multi-purpose building used as a place to arrange events and exhibitions concerning Seub Nakhasathien, the important person who played a major role in encouraging the announcement of Huai Kha Khaeng as a World Heritage Site. “I think, in my life I have done my best. I think, I have helped society well. I think, I have made it as good as I can. I am pleased and proud of what I have done,” said Seub Nakhasathien.

Seub’s Shelter still remains the same like when he was alive. In the bedroom, where Seub ended his life, there is a table with many pictures of his daughter, labourers, and forest. Beside the table, a few pairs of shoes were put on the floor.

Patrol Labour Memorial is another important place which reminds us of the labourers who were shot to death during their mission. It is located in front of the reception shelter. If visitors have a chance to visit Huai Kha Khaeng, Seub’s Shelter and Patrol Labour Memorial, they may get something more than just the spirit of environmental conservation.

Khao Hin Daeng Nature Study Route is approximately 6 km. long, taking about 4 hours to travel on foot. There are 18 points to interpret the meaning of the nature, including deciduous forest, deciduous dipterocarp forest, mixed deciduous forest, and dry evergreen forest, as well as a sight-seeing point, Pong Thian. After December, there are a lot of birds from various species, most of which are red-breasted parakeet and lineated barbet. Normally, tourists can travel on this route by themselves, using a manual provided at the headquarters of the sanctuary. For a guide, please contact Huai Kha Khaeng Forest Fire Prevention Unit in advance at Tel. 0 5651 3527. However, this natural route is closed in April.

To get there, take one of these 2 routes:
1. Enter at the headquarters of Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, approximately 102 km. from the provincial city along Highway No. 333 (Uthai Thani – Nong Chang). Then take Highway 3438 from Nong Chang – Lan Sak. After turning left at Km. 53-54 and driving along for about 15 km., arriving at the office of Khao Hin Daeng Checkpoint, located on the Huai Thap Salao creek side. From the sanctuary office, drive for 14 km. to the Kapuk Kapiang Ranger Station or 17 km. to the Khao Nang Ram Research Station.

2. Enter at the Khao Bandai Ranger Station, which is in the south of Huai Kha Khaeng, approximately 137 km. from the provincial city, along Highway 333, the Uthai Thani - Nong Chang route. Then, turn into Highway 3282, Nong Chang - Ban Rai route, taking about 80 km. Turn left to a laterite road, passing Ban Mai Khlong Aangwa for 30 km. until reaching the Khlong Rayang Border. Go along to Huai Maedi and the Khao Bandai Ranger Station. Visitors can choose forest trekking to the north or the south of the Huai Kha Khaeng Creek.

In the rainy season, it is difficult to drive through the entrance due to flooding on the laterite road.

Accommodation: To stay overnight, contact the Wildlife Sanctuary Management Subdivision in person at least 20 days in advance at the Wildlife Conservation Office, Department of National Park, Wildlife and Flora. For further information, please contact Tel. 0 2561 4292-3 ext. 765 or Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, P.O. Box 7, Amphoe Lan Sak, Uthai Thani 61160 or Tel. 0 5651 9654. There are 3 permitted points for staying overnight. The first point is in the area of the sanctuary office, including 3 houses with a capacity of 10-30 persons and the training building with a capacity of 80 persons. The second point is at the Cyber Ranger Station, and the third one is at the Huai Mae Di Ranger Station.

Wat Khao Wong

Wat Khao Wong is a temple in a valley. It has a beautiful two-storey Thai-style convocation hall. The area has been exquisitely landscaped. The monastery is the 13th of 19 branches of Wat Sangkhathan in Nonthaburi that are in places such as Chiang Mai, Um Phang, the United Kingdom, and India. The monastery was built in 1987 and has a total area of 320,000 square metres. The surrounding area is mountain and forest.

The most striking feature of Khao Wong Monastery is the 4-storey Thai-style multi-purpose pavilion. Built almost entirely of wood, the pavilion has a pond in front with many fish. Around the pond is a garden of colourful flowers. The wood used in the pavilion’s construction was donated by locals and has been transformed into a work of architecture that retains natural qualities. The monastery has a monthly meditation class for those who are interested.

Getting There: Use the same route as Phu Wai Cave. It is about 3 kilometres before reaching the cave (there is a cooperative store selling souvenirs and free accommodation for up to 200 persons).

Namtok Pha Rom Yen

Pha Rom Yen Waterfall is in Ban Mai Rom Yen. The highlight of the waterfall is its uniqueness of being a limestone waterfall that falls from a cliff. It can be clearly seen from the road nearby. This beautiful waterfall flows from a small stream 4 levels up. It is about 100 metres high. The highest level is a stream that falls down to a pool on the second level. The highest level is the level that can be viewed from the entrance. The beauty of this waterfall lies in the fact that it falls down a high cliff, splashing into mist down below. The nearby area is bright green with moss and ferns. The surrounding nature provides cool shade for visitors.

Getting There: From Amphoe Ban Rai, take Highway No. 3011 (Ban Rai-Phu Bon) to the entrance of Ban Mai Rom Yen, then turn right for around 2 kilometres. Then go on foot for 400 metres from the entrance to the waterfall.

Cyber Waterfall or Namtok Hin Lat

It is under the responsibility of the Cyber Ranger Station. It is situated near Cyber Village (Ban Sap Mae Bue), Tambon Khok Khwai, Amphoe Huai Khot, 86 km. from the provincial city. This multi-layered waterfall is formed by water from Huai Loi Choi which flows from a high mountain in Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary. The waterfall at the higher level is called Namtok Loi Choi. In some parts, the water falls over a big rock so it is called Namtok Hin Lat. Below, there is an enormous water basin to receive the water which keeps flowing down continuously. In other part, the water squeezes through rocks to the basin, creating a beautiful high multi-layered waterfall. There will be a lot of water in September until early November. Huai Loi Choi will meet Huai Thap Salao. The waterfall is surrounded by a rattan forest with shady trees and leaves that change their colours in November.

Shelters and facilities: There is one reception house which can hold 20-30 persons. Food service is not provided, so visitors have to prepare it by themselves. It is necessary to have a letter of permission from the managing department of the wildlife sanctuary because it is under the responsibility of Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary. For further information, please call Tel. 0 2561 4292-3 ext. 765.

To get there: Take Highway 3282, turn left at Km. 30, and drive into an unpaved road for 7 km. Travel on foot for another 900 metres. The entrance is a laterite road with sharp rocks all the way, passing many creeks. In the rainy season (August - October), it is not possible to drive along this road. It is recommended to take a 4 wheel-drive car. Otherwise, take a bus Ban Rai - Khlong Haeng from Ban Rai Market and get off at Ban Thonglang, at Km. 19. Then rent a two-rowed car.

Wat Sankat Rattana Khiri
Wat Sankat Rattana Khiri is at the foot of Khao Sakae Krang at the end of Tha Chang Road in the municipality. Inside the main hall is “Phra Phuttha Mongkhon Sai Sit” or “Luang Pho Mongkhon”, an ancient bronze Buddha imae form the Sukhothai period in theMan Wichai posture. It is 1.5 metres wide and was made in the reign of King Lithai. In the open area of the temple is a stairway ascending to the top of Khao Sakae Krang totaling 449 steps. At the peak is a pavilion with a multi-tiered roof housing a replica of Lord Buddha’s footprint and a large bronze bell built in the reign of King Rama V. It is said that this is a sacred bell that visitors to the province who does not ring the bell is like on who never gets to see the province.

In addition, in one corner of the temple is a pavilion housing a statue of the father of King Rama I, the founder of the Chakri dynastr, who was born in Ban Sakae Krang.

Getting There: From the city, take Road No. 3220 and turn left into the provincial staduum leading up the mountain. The distance is around 4 kilometres.

Wat Thap Than
Wat Thap Than was built in the Rattanakosin period around 1897. The locals have shortened the full name to Wat Thap Than. It is said that this area was where Thai troops caught up with invading forces in the late Ayutthaya period. Hence, the name of Thap Than. The monastery has a shady compound and a small chapel and main hall in the traditional style. The item of interest here is the lovely carved door depicting an angel holding an arrow standing on a serpent and another of an angel tending deer holding a pike on a lion. The convocation hall has a main bronze Buddha image in the Man Wichai posture 1.68 metres wide. The main hall houses a replica of Lord Buddha’s footprint in bronze.

Getting There: Take Highway No. 3221 (Amphoe Muang-Amphoe Thap Than) for 19 kilometres. The temple is located on the left about 1 kilometre before the Thap Than district office.

Wat Thap Than
Wat Thap Than was built in the Rattanakosin period around 1897. The locals have shortened the full name to Wat Thap Than. It is said that this area was where Thai troops caught up with invading forces in the late Ayutthaya period. Hence, the name of Thap Than. The monastery has a shady compound and a small chapel and main hall in the traditional style. The item of interest here is the lovely carved door depicting an angel holding an arrow standing on a serpent and another of an angel tending deer holding a pike on a lion. The convocation hall has a main bronze Buddha image in the Man Wichai posture 1.68 metres wide. The main hall houses a replica of Lord Buddha’s footprint in bronze.

Getting There: Take Highway No. 3221 (Amphoe Muang-Amphoe Thap Than) for 19 kilometres. The temple is located on the left about 1 kilometre before the Thap Than district office.

Khao Pla Ra
Prehistoric colour drawings at Khao Pla Ra is another interesting tourist attraction of Uthai Thani. Khao Pla Ra is a mountain range with verdant jungles, no communities and natural water sources. It is also the home of numerous wild animals. It has truly lovely nature in the area around the cave and cliff in the southwestern part of the mountain at around 320 metres avove sea level. Colour cave drawings stretch for around 9 metres. These prehistoric drawings are of humans and animals in red and black.

They show an agrarian society and are artistic expressions of people in ancient times. The drawings give insight into their lifestyle and homesteads. They are certainly invaluable as artistic heritage of the country. A number of earthenware pieces of three-legged pots and stone axes were also found in the area.

Getting There: From the city, take Road No. 333 past Amphoe Nong Chang, then take Road No. 3438 (Amphoe Nong Chang-Amphoe Lan Sak) for around 21.5 kilometres. You will see the Pla Ra Mountain range on the left. Then turn left onto an asphalt road for about 7.5 kilometres and continue on foot around 2 kilometres up the mountain to the peak to see the prehistoric drawings. The total distance from the city is around 51.6 kilometres.

Ban Khok Mo Weaving Village

Ban Khok Mo Weaving Village is a small village of Thai-Lao residents whose ancestors migrated here in the Rattanakosin period. Villagers take up weaving when the harvest ends. The fabrics produced in the village are unique. They are made from Sin Tin Chok Silk, Mat Mi silk and traditional-style fabrics with floral patterns.

Getting There: From Amphoe Thap Than, take Highway No. 3013 to Amphoe Sawang Arom for approximately 11 kilometres. A 4-kilometre road leads to Ban Khok Mo. The weaving group is next to Wat Khok Mo.


อุทัยธานี : ข้อมูลทั่วไป

 

อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ

 

        อุทัยธานี ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและภูเขาสูง สภาพป่าไม้ของจังหวัดอุทัยธานีอุดมสมบูรณ์มีความหลากหลายทางธรรมชาติ เขตรักษาพันธุ์ห้วยขาแข้งจึงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เป็นผืนป่าอนุรักษ์ที่ควรค่าแก่การดูแลรักษาและนำความภาคภูมิใจมาสู่คนไทย ทุกคน ดินแดนบางส่วนพบหลักฐานว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ และเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณหลายเมือง ได้แก่ เมืองโบราณบึงคอกช้างในสมัยทวารวดี เมืองโบราณบ้านใต้ เมืองโบราณบ้านคูเมือง และ เมืองโบราณการุ้ง
ตามตำนานกล่าวว่าในสมัยสุโขทัยท้าวมหาพรหมได้เข้ามาสร้างเมืองที่บ้านอุทัย เก่า (อำเภอหนองฉาง) แล้วพาคนไทยมาอยู่ท่ามกลางหมู่บ้านกะเหรี่ยงและหมู่บ้านมอญจึงเรียกว่า "เมืองอู่ไทย" ตามกลุ่มหรือที่อยู่ของคนไทย ต่อมาเกิดความแห้งแล้งกระแสน้ำเปลี่ยนทางเมืองจึงถูกทิ้งร้าง ในสมัยอยุธยาชาวกะเหรี่ยงชื่อ "พะตะเบิด" เข้ามาปรับปรุงเมืองอู่ไทยโดยขุดทะเลสาบขังน้ำไว้ใกล้เมืองและเป็นผู้ปกครอง เมืองอู่ไทยเก่าคนแรก ชื่อเมืองจึงเรียกเพี้ยนเป็น "เมืองอุไทย" ตามสำเนียงชาวกะเหรี่ยงและมีฐานะเป็นหัวเมืองหน้าด่านชั้นนอกสกัดกั้นกองทัพ พม่าที่จะเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีการอพยพผู้คนมาตั้งบ้านเรือนที่ริมฝั่ง แม่น้ำสะแกกรังมากขึ้น และได้กลายเป็นที่ตั้งของตัวเมืองอุทัยธานีในปัจจุบัน

       อุทัยธานีมีสถานที่น่าสนใจทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดีหลายแห่งที่น่ามาเที่ยวชมและศึกษาหาความรู้ อีกทั้งมีสินค้าที่ระลึกประเภทหัตถกรรมและอาหารการกินมากมาย เช่น หน่อไม้รวก ข้าวเกรียบปลา ผลไม้แช่อิ่ม ผ้าทอ เครื่องจักสานซึ่งสามารถนำกลับไปเป็นของฝากได้

อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอพยุหะคีรี อำเภอโกรกพระ และอำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอวัดสิงห์ อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท และอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอพยุหคีรี จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท
โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นกั้นแบ่งเขตแดน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก อำเภอสังขละบุรี และอำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี

หมายเลขโทรศัพท์สำคัญ

  1. ประชาสัมพันธ์จังหวัด โทร. 0 5652 0826, 0 5651 1915
  2. สำนักงานจังหวัด โทร. 0 5652 0737, 0 5651 1063
  3. ที่ว่าการอำเภอ โทร. 0 5651 1200
  4. โรงพยาบาลอุทัยธานี โทร. 0 5652 4455-8
  5. สถานีตำรวจภูธร โทร. 0 5651 1581, 0 5651 1055
  6. ตำรวจทางหลวง โทร. 1193
  7. ตำรวจท่องเที่ยว โทร. 1155, 0 5657 1205
  8. กรมอุตุนิยมวิทยา โทร. 1182

Link ที่น่าสนใจ

สำนักงานจังหวัดอุทัยธานี โทร. 0 5652 0737, 0 5651 1063
http://www.uthaithani.go.th

อุทัยธานี : ข้อมูลการเดินทาง

การเดินทาง

รถยนต์ จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปอุทัยธานีได้หลายเส้นทาง ได้แก่
1. จากถนนพหลโยธินผ่านจังหวัดสระบุรี อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาลงแพขนานยนต์ ที่อำเภอมโนรมย์ ผ่านวัดท่าซุง (วัดจันทาราม) ศาลากลางจังหวัด เข้าตลาดอุทัยธานี รวมระยะทางประมาณ 305 กิโลเมตร
2. จากทางหลวงหมายเลข 32 (สายเอเซีย) ผ่านอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท แล้วเลี้ยวซ้ายตรงทางแยกท่าน้ำอ้อยบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 206 เข้าทางหลวงหมายเลข 333 ข้ามสะพานแม่น้ำเจ้าพระยา ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร ผ่านหน้าโรงพยาบาลเลี้ยวซ้ายเข้าตลาดอุทัยธานี รวมระยะทางประมาณ 222 กิโลเมตร
3. จากทางหลวงหมายเลข 32 (สายเอเซีย) ผ่านอยุธยา ประมาณกิโลเมตรที่ 30 เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 334 และจากนั้นเข้าทางหลวงหมายเลข 309 ไปตามเส้นทาง ข้ามสะพานจังหวัดอ่างทอง แล้วมาตามถนนหมายเลข 311 ผ่านจังหวัดสิงห์บุรี ผ่านจังหวัดชัยนาทที่อำเภอสรรพยา จากนั้นเลี้ยวเข้าทางหลวงหมายเลข 3183 เข้าจังหวัดอุทัยธานี รวมเป็นระยะทางประมาณ 283 กิโลเมตร

รถโดยสารประจำทาง

บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการเดินรถระหว่างกรุงเทพฯ-อุทัยธานีทุกวัน จากสถานีขนส่งหมอชิต 2 ใช้เวลาเดินทางประมาณ 4 ชั่วโมง ทั้งรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศตั้งแต่เวลา 04.30-17.50 น. สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2936 2852-66 หรือ www.transport.co.th สถานีเดินรถอุทัยธานี โทร. 0 5651 1058, 0 5651 1914, 0 5651 2859
นอกจากนี้จากจังหวัดอุทัยธานียังมีรถโดยสารไปยังจังหวัดนครสวรรค์ สุพรรณบุรี และนครปฐม

รถไฟ

ต้องโดยสารรถไฟไปลงที่สถานีนครสวรรค์ แล้วต่อรถประจำทางมายังอุทัยธานีอีกประมาณ 50 กิโลเมตร ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่หน่วยบริการเดินทาง โทร. 1690, 0 2220 4334 หรือ www.railway.co.th

การเดินทางภายในจังหวัด จะมีทั้งรถสองแถว และรถบัสประจำทางวิ่งตามเส้นทางต่าง ๆ เช่น อุทัยธานี-หนองฉาง อุทัยธานี-วัดสิงห์ อุทัยธานี-บ้านไร่ ลานสัก-สว่างอารมณ์-ทัพทัน บ้านไร่-คลองแห้ง เป็นต้น

ระยะทางจากอำเภอเมืองอุทัยธานีไปอำเภอต่าง ๆ

  1. อำเภอหนองขาหย่าง 10 กิโลเมตร
  2. อำเภอทัพทัน 19 กิโลเมตร
  3. อำเภอหนองฉาง 22 กิโลเมตร
  4. อำเภอสว่างอารมณ์ 33 กิโลเมตร
  5. อำเภอห้วยคต 45 กิโลเมตร
  6. อำเภอลานสัก 57 กิโลเมตร
  7. อำเภอบ้านไร่ 80 กิโลเมตร

อุทัยธานี : วัฒนธรรมประเพณี

งานวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
วันที่ 6 เมษายน 2552
ณ บริเวณตัวเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี

กิจกรรม
พิธีบวงสรวง พระบรมรูปสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ขบวนเทิดพระเกียรติฯ การแสดง แสง-เสียง

สอบถามรายละเอียด
ททท. สำนักงานอุทัยธานี โทร. 0 5651 4982
จังหวัดอุทัยธานี โทร. 0 5651 1063

งานวันรำลึกสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และงานกาชาดจังหวัดอุทัยธาน

จัดระหว่างวันที่ 27 มีนาคม–5 เมษายน ของทุกปี ณ บริเวณสนามกีฬาจังหวัด เพื่อสักการะและรำลึกถึงสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งรัชกาลที่ 1

อุทัยธานี : สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ

วัดหนองขุนชาติ

เป็นวัดสร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ มีมณฑปประดิษฐานพระพุทธบาทจำลองอยู่ ซึ่งมีการจัดงานนมัสการพระพุทธบาททุกวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 3 (เดือนไทย) เป็นประจำทุกปี งานมี 10 วัน 10 คืน
การเดินทาง วัดอยู่ในตลาดหนองฉางจากทางหลวงหมายเลข 3012 (หนองฉาง-ทัพทัน) เลี้ยวซ้ายตรงสามแยกไปตามทางหลวงหมายเลข 3013

เมืองอุไทยธานีเก่า

เมืองอุไทยธานีเก่า อยู่ที่บ้านอุทัยธานีเก่า เป็นที่ตั้งของเมืองอุไทยธานีมาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งยังคงมีซากโบราณสถานเหลืออยู่ เช่น ที่วัดหัวหมาก วัดยาง และวัดกุฏิ ส่วนบริเวณโดยรอบได้กลายเป็นทุ่งนาไปหมด วัดที่ยังคงสภาพอยู่จนถึงปัจจุบันนี้คือ วัดแจ้ง มีพระปรางค์ซึ่งเดิมสร้างเมื่อ พ.ศ. 2081 ต่อมาถูกพม่าทำลายยอดหัก บูรณะซ่อมแซมครั้งล่าสุดเมื่อ พ.ศ. 2528 โบสถ์เก่าเป็นโบสถ์ขนาดเล็กประตูเดียวแบบอยุธยาตอนปลาย ลายปูนปั้นของพระปรางค์และหน้าบันโบสถ์เป็นฝีมือเดียวกัน ภาพจิตรกรรมภายในโบสถ์เขียนขึ้นเมื่อบูรณะครั้งล่าสุด เป็นภาพพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อีกวัดหนึ่งคือ วัดหัวเมือง ตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า ซึ่งยังคงมีซากโบสถ์เก่าแบบอยุธยาเหลืออยู่ และเจดีย์โบราณขนาดเล็กหน้าโบสถ์เก่า
การเดินทาง จากตลาดหนองฉางสามแยกโรงเรียนทองประสาทเวทย์ พบสามแยกเลี้ยวขวาแล้วตรงไปจนถึงวัดแจ้ง ส่วนวัดหัวเมืองจะอยู่เลยวัดแจ้งไปอีก 1 กิโลเมตร

วัดหนองพลวง

สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2232 สิ่งสำคัญภายในวัด ได้แก่ พระอุโบสถ เป็นโบสถ์ท้องสำเภา อาคารก่ออิฐถือปูน ทรงจั่วหน้าบันด้านหน้าประดับลวดลายปูนปั้นและเครื่องถ้วยเคลือบ แต่ด้านหลังเรียบไม่มีลวดลาย เป็นปูนสีขาวฉาบเกลี้ยง ๆ ดูเรียบง่ายงามตา มีทางเข้าทางเดียว ไม่มีช่อฟ้า เสมาโดยรอบเป็นหินสลักสวยงามบนฐานรูปดอกบัว มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นโบสถ์ท้องสำเภา

การเดินทาง
ออกจากตัวเมืองไปตามทางหลวงหมายเลข 333 ระหว่างกิโลเมตรที่ 9-10 จะพบวัดอยู่ทางขวาตั้งอยู่ติดกับโรงเรียนหนองขาหย่าง วิทยาคม

เมืองโบราณบึงคอกช้าง

เมืองโบราณบึงคอก ช้าง ตั้งอยู่ที่ตำบลไผ่เขียว มีคูเมืองและกำแพงดินล้อมรอบ ค้นพบซากโบราณ เครื่องปั้นดินเผา หินบดยา เครื่องมือเหล็ก ลูกปัดสีเหลือง นอกจากนี้ยังขุดพบศิลาจารึกอักษรขอมโบราณ 3 หลัก ปัจจุบันมีสภาพเป็นสวนป่าปลูกมีต้นไม้ขนาดใหญ่ปกคลุมอยู่ทั่วไป ส่วนบริเวณคูเมืองตื้นเขิน โบราณวัตถุที่ถูกค้นพบได้นำไปเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมท้องถิ่น ภายในศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดอุทัยธานี ใกล้กับศาลากลางจังหวัด
การเดินทาง จากอำเภอเมืองใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 3221 ผ่านอำเภอทัพทัน เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3013 ผ่านอำเภอสว่างอารมณ์ จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 3456 มุ่งหน้าสู่อำเภอลานสัก ระยะทางจากอำเภอสว่างอารมณ์ประมาณ 14 กิโลเมตร ถึงสถูปเจดีย์ด้านซ้ายมือ และมีป้ายบึงคอกช้าง ถนนสายนี้ตัดผ่านตัวเมืองเก่าบึงคอกช้างพอดี (เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี)

ตลาดนัดวัว-ควาย หนองหญ้าปล้อง

อยู่ที่บ้านหนองหญ้าปล้อง ใกล้กับโรงเรียนทัพทันอนุสรณ์ เดินทางจากอำเภอทัพทันไปตามถนนสายทัพทัน - สว่างอารมณ์ (ทางหลวงหมายเลข 3013) ตลาดจะอยู่ด้านขวามือ ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร จะพบตลาดนัดโค กระบือซึ่งเป็นตลาดที่มีบริเวณพื้นที่ซื้อขายกว้างใหญ่ ในแต่ละครั้งจะมีวัวควายถูกนำมาขายนับพันตัว ตลาดนัดจะมีบางวันและมีวัวควายสับเปลี่ยนกันมาขาย ในบางวันยังมีข้าวของเครื่องใช้เกี่ยวกับวัวควายมาขายด้วย ตลาดจะวายในช่วงเย็น

วัดทัพทัน

ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ตำบลทัพทัน บนถนนสายอุทัยธานี-ทัพทัน ทางหลวงหมายเลข 3221 ห่างจากอำเภอเมืองประมาณ 19 กิโลเมตร ก่อนถึงที่ว่าการอำเภอทัพทัน 1 กิโลเมตรด้านซ้ายมือ บานประตูโบสถ์สวยงาม ฝีมือช่างสมัยรัตนโกสินทร์ บานหนึ่งแกะเป็นรูปคนถือธง ระบุ พ.ศ. 2466 อีกบานหนึ่งระบุว่าเป็นปีกุน มีลวดลายสวยงาม อกเลาบานประตูมีลวดลายยาวตลอด บานประตูอีกคู่หนึ่งแกะเป็นรูปเทวดาถือคันศรยืนบนพญานาค ด้านล่างเป็นภูเขามีสัตว์ต่าง ๆ ด้านบนเป็นลายกนกมะลิเลื้อย บานประตูคู่นี้ไม่แกะลวดลายที่อกเลา เข้าใจว่าเป็นฝีมือช่างพื้นบ้าน

การเดินทาง จากตัวอำเภอเมืองทัพทันไม่มีรถประจำทาง ต้องเหมารถมอเตอร์ไซต์รับจ้างเท่านั้น

วัดสังกัสรัตนคีรี

ตั้งอยู่เชิงเขาสะแกกรัง สุดถนนท่าช้าง ในเขตเทศบาลเมือง ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองอุทัยธานี มีประวัติว่าในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้นำพระพุทธรูปขนาดย่อมที่ชำรุดไปไว้ตามหัวเมืองต่างๆ สำหรับเมืองอุทัยธานีได้รับ 3 องค์ โดยอัญเชิญลงแพมาขึ้นฝั่งที่ท่าพระ (ตรงข้ามศาลาประชาคมจังหวัดอุทัยธานี) แล้วนำมาประดิษฐานไว้ที่วัดขวิด พระพุทธรูปองค์หนึ่งมีขนาดใหญ่เป็นพระเนื้อสำริดปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 3 ศอก สร้างในสมัยพระเจ้าลิไท ฝีมือช่างสุโขทัย มีส่วนเศียรกับส่วนองค์พระเป็นคนละองค์ เข้าใจว่าคงซ่อมเป็นองค์เดียวกันก่อนนำมาไว้ที่เมืองอุทัยธานี ต่อมาเมื่อยุบวัดขวิดไปรวมกับวัดทุ่งแก้ว จึงได้ย้ายพระพุทธรูปองค์นี้ไปไว้ที่วัดสังกัสรัตนคีรี ซึ่งอยู่ห่างจากตัวเมืองไป 1 กิโลเมตร และได้ทำพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ในพระเศียร พร้อมกับถวายนามว่า พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ ในวันแรม 1 ค่ำเดือน 11 ของทุกปี จะมีประเพณีตักบาตรเทโว โดยพระสงฆ์ประมาณ 500 รูปจะเดินลงบันไดจากยอดเขาสะแกกรังมารับบิณฑบาตที่ลานวัดเป็นประเพณีที่ สำคัญของจังหวัด

การเดินทาง จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 3220 แล้วเลี้ยวซ้ายทางไปสนามกีฬาจังหวัด ซึ่งเป็นทางสู่ยอดเขา ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร

เขาสะแกกรัง

จากบริเวณลานวัดสังกัสรัตนคีรีมีบันไดขึ้นไปสู่ยอดเขาสะแกกรัง หรือใช้ทางหลวงหมายเลข 3220 จะพบทางแยกขึ้นเขาเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวบริเวณสนามกีฬาจังหวัดไปตามทางขึ้นสู่ยอดเขา จากบนยอดเขาสามารถมองเห็นทิวทัศน์เมืองอุทัยธานีได้กว้างขวาง เป็นที่ตั้งของมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง ซึ่งย้ายมาจากวัดจันทาราม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2448 ด้านหน้ามีระฆังใบใหญ่ที่พระปลัดใจและชาวอุทัยธานีร่วมกันสร้างเมื่อ พ.ศ. 2443 ถือกันว่าเป็นระฆังศักดิ์สิทธิ์ ใครที่ไปเที่ยวอุทัยธานีแล้วไม่ได้ขึ้นไปตีระฆังใบนี้ก็เท่ากับไม่ได้ไป เที่ยวอุทัยธานี
ใกล้ กับมณฑปบนยอดเขาสะแกกรังมีพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ แห่งรัชกาลที่ 1 ซึ่งมีพระนามเดิมว่านายทองดี รับราชการตำแหน่งพระอักษรสุนทรศาสตร์ เสมียนตรากรมมหาดไทย และต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ ครั้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี (พระนามเดิมนายทองด้วง) ได้สถาปนาพระอัฐิพระบิดาเป็นสมเด็จพระชนกาธิบดี เมื่อปี พ.ศ. 2338
พระบรมรูปของ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ เป็นรูปหล่อขนาดสองเท่าขององค์จริงประทับนั่งบนแท่นพระหัตถ์ซ้ายถือดาบประจำ ตำแหน่งเจ้าพระยาจักรี ทั้งฝักวางบนพระเพลาซ้าย และทรงวางพระหัตถ์ขวาบนพระเพลาขวา ด้านขวามือมีพานวางพระมาลาเส้าสูง ไม่มียี่ก่า (ขนนก) สวมพระบาทด้วยรองเท้าแตะไม่หุ้มส้นพระบาท มีพิธีถวายสักการะพระราชานุสาวรีย์แห่งนี้ ในวันที่ 6 เมษายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับช่วงที่ดอกสุพรรณิการ์ หรือฝ้ายคำ ดอกไม้ประจำจังหวัดอุทัยธานีบานสะพรั่งอยู่ทั่วไปบนเขาสะแกกรัง
เลยพระราชานุสาวรีย์ไปทางป่าหลังเขา ประมาณ 200 เมตร จะพบ หมุดแผนที่โลก ซึ่งใช้ในการสำรวจแผนที่ สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475

เกาะเทโพ

เดิมเป็นแหลมยื่นออกมาคั่นระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำสะแกกรัง แม่น้ำทั้งสองสายจะมาบรรจบกันทางทิศใต้ของแหลม และมีการขุดคลองเชื่อมทางเหนือในภายหลัง เพื่อให้แม่น้ำเจ้าพระยามาหนุนแม่น้ำสะแกกรังในยามน้ำแล้ง แหลมนี้จึงกลายเป็นเกาะเทโพ

ที่ เกาะเทโพนี้เป็นจุดที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ชอบปั่นจักรยานท่องเที่ยว หลังจากข้ามสะพานที่เชื่อมต่อระหว่างตลาดสดเทศบาลและวัด อุโบสถาราม ซึ่งไม่ยาวนักและขนาดเล็กเพียงรถมอเตอร์ไซค์สวนกันได้ ก็นับเป็นการเริ่มต้นการเดินทางบนเกาะเทโพ บรรยากาศสองข้างจะเป็นป่าไผ่ ไร่ข้าวโพด และทุ่งนาให้บรรยากาศที่สงบร่มรื่น ชาวบ้านที่นี่ทำสวนส้มโอ มีทั้งพันธุ์มโนรมย์ และขาวแตงกวา และยังปลูกมะไฟด้วย

เมื่อ ผ่านบ้านท่าดินแดงจะเห็นเสื่อลำแพนวางขายอยู่ ชาวบ้านใช้ต้นไผ่ที่มีอยู่หนาแน่นในพื้นที่นำมาสานเสื่อ และวางขายกันที่หน้าบ้าน ไม่ได้ส่งตลาด หากเดินทางต่อไปถึงวัดภูมิธรรม ก็จะมีศาลาให้นั่งพักตากลมได้ บรรยากาศในวัดเงียบสงบ เมื่อปั่นจักรยานครบรอบเส้นทางที่กำหนดไว้ก็จะถึงท่าเรือที่จะข้ามไปวัดท่า ซุงได้ รวมระยะทางปั่นจักรยานบนเกาะทั้งหมด 33 กิโลเมตร

นอกจากนี้ยังมีแหล่งผลิตภัณฑ์จากหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์มากมาย เช่น ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากปลา กลุ่มแม่บ้านปลาแปรรูปเกาะเทโพ กลุ่มทำมีดจากเหล็กกล้า กลุ่มจักสานไม้ไผ่

แผนที่เกาะ เทโพ และตัวเมืองอุทัยธานี สามารถ ติดต่อได้ที่ คุณประสงค์ ศรีเมือง ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพจังหวัดอุทัยธานี (ร้านเจริญจักรยาน) 100-102 ถนนท่าช้าง อำเภอเมือง โทร. 0 5651 1991 ได้ทุกวัน

น้ำตกไซเบอร์ หรือน้ำตกหินลาด

อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยพิทักษ์ป่าไซเบอร์ เป็นน้ำตกที่อยู่ใกล้หมู่บ้านไซเบอร์ (บ้านซับแม่บือ) ตำบลคอกควาย อำเภอห้วยคต อยู่ ห่างจากจังหวัด 86 กิโลเมตร น้ำตกนี้เกิดจากลำห้วยล่อยจ้อยที่ไหลมาจากภูเขาสูงของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าห้วยขาแข้ง ทำให้เกิดน้ำตกขึ้นเป็นระยะ ๆ หลายชั้น น้ำตกส่วนที่อยู่ตอนบนเรียกว่าน้ำตกล่อยจ้อย บางแห่งตกจากที่สูงปะทะกับก้อนหินใหญ่ เรียกว่า น้ำตกหินลาด ข้างล่างเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่รับน้ำตกที่ตกลงมาไม่ขาดสาย บางแห่งไหลซอกซอนไปตามเกาะแก่งหินลงสู่เบื้องล่าง เป็นทางยาวสูงต่ำหลายชั้นสวยงามมาก จะมีน้ำมากช่วง เดือนกันยายน - ต้นเดือนพฤศจิกายน ลำห้วยล่อยจ้อยจะไหลไปรวมกับห้วยทับเสลา บริเวณโดยรอบเป็นป่าหวายและมีต้นไม้ร่มครึ้ม และในช่วงเดือนพฤศจิกายนจะเป็นช่วงใบไม้เปลี่ยนสีด้วย

ที่พักและสิ่งอำนวยความสะดวก มีบ้านรับรอง 1 หลัง พักได้ 20-30 คน ไม่มีบริการด้านอาหารผู้มาพักต้องเตรียมเสบียงมาเอง และต้องมีหนังสือจากฝ่ายจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเพราะอยู่ในพื้นที่ ความรับผิดชอบของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2561 4292-3 ต่อ 765

การเดินทาง จากทางหลวงหมายเลข 3282 หลักกิโลเมตรที่ 30 เลี้ยวเข้าทางลำลองประมาณ 7 กิโลเมตร เดินเท้าต่ออีก 900 เมตร สภาพทางเข้าเป็นทางลูกรังและมีหินคมตลอดเส้นทาง รวมทั้งต้องผ่านธารน้ำหลายจุด หน้าฝนรถเข้าไม่ได้เลย (สิงหาคม-ตุลาคม) ต้องใช้รถกระบะที่มีกำลังขับเคลื่อนดีหรือรถขับเคลื่อนสี่ล้อ หากเดินทางโดยรถประจำทาง จากตลาดบ้านไร่นั่งสายบ้านไร่-คลองแห้ง มาลงที่บ้านทองหลางหลักกิโลเมตรที่ 19 ซึ่งสามารถหาเช่าสองแถวได้ที่นี่


หุบป่าตาด

ตั้งอยู่ที่ตำบลทุ่งนางาม เข้าทางเดียวกับกับเขาปลาร้า อยู่ก่อนถึงเขาปลาร้าประมาณ 1 กิโลเมตร
ถ้ำนี้ถูกค้นพบโดยพระครูสันติธรรมโกศล (หลวงพ่อทองหยด) เจ้าอาวาสวัดถ้ำทอง เมื่อปี พ.ศ. 2522 พระครูได้ปีนลงไปในหุบเขานี้ จึงพบว่ามีต้นตาดเต็มไปหมด (ต้นตาดเป็นไม้ดึกดำบรรพ์ตระกูลเดียวกับปาล์ม) จึงเจาะปากถ้ำเพื่อเป็นทางเข้าในปี พ.ศ. 2527 ต่อมากรมป่าไม้ได้ประกาศเป็นพื้นที่อนุรักษ์ เพราะที่นี่มีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แปลกและมีพันธุ์ไม้หายาก อยู่ในความดูแลของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าถ้ำประทุน และมีการจัดทำเป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะทาง 700 เมตร ใช้เวลาเดินชมประมาณครึ่งชั่วโมง ถ้ำที่เป็นทางเดินเข้าหุบป่าตาดนั้นมืดสนิท เดินไม่นานจะถึงบริเวณปล่องขนาดใหญ่ที่แสงส่องลงมาได้และจะพบป่าตาด ให้ความรู้สึกเหมือนว่าได้มาอยู่ในโลกยุคดึกดำบรรพ์ นอกจากต้นตาดแล้วที่นี่ยังพบไม้หายากพันธุ์อื่น ๆ เช่น เต่าร้าง เปล้า คัดค้าวเล็ก เป็นต้น ในบริเวณหุบเขานี้มีลักษณะคล้ายป่าดงดิบและยังมีความชุ่มชื้นสูง แสงจะส่องถึงพื้นได้เฉพาะตอนเที่ยงวันเพราะมีเขาหินปูนสูงชันล้อมรอบ มีความร่มรื่นเหมาะแก่การเดินชมธรรมชาติ
การเตรียมตัวไปหุบป่าตาด ควรพกไฟฉายและยาทากันยุงไปด้วย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำประทุน โทร. 05698 9128

การเดินทาง จากจังหวัดอุทัยธานี ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 333 ผ่านอำเภอหนองฉาง จากนั้นต่อด้วยทางหมายเลข 3438 ทางไปอำเภอลานสักอีก 21.5 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายตามทางลาดยางอีก 6 กิโลเมตร ก็จะถึงหุบป่าตาด ซึ่งเป็นทางเดียวกับทางไปเขาปลาร้า แต่อยู่ก่อนถึงเขาปลาร้าประมาณ 1 กิโลเมตร

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง เริ่มเป็นที่รู้จักเพราะได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก (UNESCO) ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกของยูเนสโก ระหว่างวันที่ 9-13 ธันวาคม 2534 ณ เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนีเซีย
ห้วยขาแข้งมีพื้นที่ครอบคลุม 6 อำเภอ 3 จังหวัด คือ อำเภอบ้านไร่ อำเภอลานสัก อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี อำเภอสังขละบุรี อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก มีพื้นที่ 3,609,375 ไร่ หรือ 5,775 ตารางกิโลเมตร โดยมีการรวมพื้นที่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรเข้ามาด้วยทำให้ เป็นผืนป่าอนุรักษ์ต่อเนื่องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ลักษณะอากาศที่ห้วยขาแข้งหากเป็นฤดูร้อนจะร้อนมาก ฤดูฝนมีฝนตกหนักตลอดทั้งวัน และมีฤดูหนาวสั้นมาก
ห้วยขาแข้งได้เป็นมรดกโลกเพราะสภาพป่าของที่นี่มีความหลากหลายทางธรรมชาติ ประกอบด้วยป่าถึง 5 ใน 7 ชนิด ที่พบในเขตร้อนชื้น ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ทุ่งหญ้า ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ก่อให้เกิดความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ บางชนิดเป็นสัตว์ที่หายากใกล้จะสูญพันธุ์ เช่น ควายป่า เลียงผา เสือดาว หมาใน ไก่ป่า นกยูงไทย และยังมีแมลงป่าพันธุ์ต่าง ๆ อีกมากมาย
ปกติเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าไม่ใช่แหล่งท่องเที่ยวที่เปิดให้ประชาชนเข้าชม ได้ทั่วไป เพราะพื้นที่นี้จัดเป็นเขตอนุรักษ์และมีความอ่อนไหวสูง ฉะนั้นการมีคนจำนวนมากเข้าไปอาจก่อให้เกิดปัญหาด้านความไม่สมดุลของระบบ นิเวศได้ แต่อย่างไรก็ดีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งซึ่งได้กลายเป็นมรดกโลกและ เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป จึงเปิดจุดผ่อนปรนทั้งหมด 3 จุด ให้ประชาชนทั่วไปเข้าไปศึกษาธรรมชาติได้แบบไม่ค้างคืน
การเข้าไปในเขตฯ ควรปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ได้แก่
1.บริเวณสำนักงานเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
2.บริเวณหน่วยพิทักษ์ป่าไซเบอร์(ดูรายละเอียดที่น้ำตกไซเบอร์)
3. บริเวณหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยแม่ดี (อยู่ในพื้นที่อำเภอบ้านไร่ เส้นทาง 3011 ไปทางห้วยแม่ดี-บ้านใหม่คลองอังวะ มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติไว้ด้วย)
ในบริเวณที่ทำการเขตฯ มี รูปปั้นคุณสืบ นาคะเสถียร หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อดูความเป็นไปของผืนป่าตะวันตก มีบันได 8 ขั้น ที่สื่อความหมายว่าคุณสืบดำรงตำแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฯ อยู่ 8 เดือน และลวดลายบนบันไดบ่งบอกถึงอุปสรรคในการทำงานที่นี่
อาคารอนุสรณ์สถานสืบ นาคะเสถียร ซึ่งใช้เป็นอาคารเอนกประสงค์ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับคุณสืบไว้ด้วย “ผมคิดว่า ชีวิตผมได้ทำดีที่สุดแล้ว ผมคิดว่า ผมได้ช่วยเหลือสังคมดีแล้ว ผมคิดว่า ได้ทำตามกำลังของผมดีแล้วและผมพอใจ ผมภูมิใจในสิ่งที่ผมทำ” เป็นคำกล่าวของคุณสืบ นาคะเสถียร ผู้เป็นกำลังสำคัญผลักดันให้ป่าห้วยขาแข้งได้กลายเป็นมรดกโลก
บ้านพักคุณสืบ ซึ่งภายในบ้านพักยังคงสภาพไว้เหมือนครั้งที่คุณสืบยังมีชีวิตอยู่ ในห้องนอนที่คุณสืบจบชีวิตลง มีโต๊ะทำงานซึ่งมีรูปภาพต่าง ๆ วางอยู่ เช่น รูปลูกสาว รูปคนงาน รูปป่าไม้ ด้านข้างโต๊ะมีรองเท้าวางอยู่สองสามคู่
และที่เราควรจะระลึกถึง คือ อนุสรณ์คนงานลาดตระเวน ที่ถูกยิงเสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ อยู่บริเวณหน้าบ้านพักรับรอง หากมีโอกาสแวะมาที่ห้วยขาแข้งและได้มาเยี่ยมที่บ้านพักคุณสืบ หรือ ที่อาคารอนุสรณ์คนงานลาดตระเวน อาจจะได้อะไรกลับไปมากกว่าจิตสำนึกด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพียงอย่างเดียว
เส้นทางศึกษาธรรมชาติเขาหินแดง มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตรใช้เวลาเดินประมาณ 4 ชั่วโมง มีจุดสื่อความหมายธรรมชาติทั้งหมด 18 จุด ประกอบด้วยป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง มีจุดชมวิวโป่งเทียน หลังเดือนธันวาคมจะมีนกหลายชนิด นกที่พบมาก เช่น นกแขกเต้า และนกโพระดก เส้นทางนี้ปกติเดินเองได้โดยขอคู่มือที่สำนักงานเขตฯ หากต้องการคนนำทางต้องติดต่อล่วงหน้าที่หน่วยป้องกันไฟป่าห้วยขาแข้ง โทร. 0 5651 3527 เส้นทางศึกษาธรรมชาตินี้ปิดเดือนเมษายน
การเดินทาง มี 2 เส้นทาง คือ
1. เข้าทางที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 102 กิโลเมตร ใช้ทางหลวงหมายเลข 333 สายอุทัยธานี-หนองฉาง จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 3438 สายหนองฉาง-ลานสัก ถึงหลักกิโลเมตรที่ 53-54 เลี้ยวซ้ายเข้าไปประมาณ 15 กิโลเมตร จะถึงที่ทำการเขตด่านตรวจเขาหินแดง ซึ่งตั้งอยู่ริมห้วยทับเสลา จากที่ทำการเขตฯ สามารถเดินทางด้วยรถยนต์ต่อไปยังหน่วยพิทักษ์ป่ากะปุกกะเปียง ระยะทาง 14 กิโลเมตร และ สถานีวิจัยเขานางรำ ระยะทาง 17 กิโลเมตร
2. เข้าทางหน่วยพิทักษ์ป่าเขาบันได อยู่ทางทิศใต้ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งห่างจากตัวจังหวัด อุทัยธานีประมาณ 137 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 333 สายอุทัยธานี-หนองฉาง แล้วเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3282 สายหนองฉาง-บ้านไร่ ระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนนลูกรังผ่านบ้านใหม่คลองอังวะอีกประมาณ 30 กิโลเมตรถึงด่านตรวจคลองระยาง ไปยังหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยแม่ดี และหน่วยพิทักษ์ป่าเขาบันได สามารถเดินป่าขึ้นล่องได้ทั้งด้านเหนือและใต้ของลำห้วยขาแข้ง

หากเดินทางในฤดูฝนรถจะเข้าไม่ได้เพราะธารน้ำจะสูงขึ้นท่วมถนนดินแดง

สถานที่พักแรม การเข้าพักแรมต้องไปติดต่อด้วยตนเองอย่างน้อย 20 วันล่วงหน้าที่ฝ่ายจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2561 4292-3 ต่อ 765 หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตู้ ปณ.7 อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 61160 โทร. 0 5651 9654 จุดที่ได้รับอนุญาตให้พักแรมได้มีอยู่ 3 จุด จุดแรก คือ บริเวณสำนักงานเขตฯ มีบ้านพักขนาดพักได้ 10-30 คน จำนวน 3 หลัง และอาคารฝึกอบรมขนาดจุ 80 คน จุดที่สอง หน่วยพิทักษ์ป่าไซเบอร์ จุดที่สาม คือ หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยแม่ดี

รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ดูได้ที่เว็บไซต์ www.huaikhakhaeng.net

หมายเหตุ : ปิดเส้นทางในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก ปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงระบบนิเวศในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ นเรศวรด้านตะวันตก จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 4 เส้นทาง ดังนี้

1. เส้นทางหน่วยพิทักษ์ป่าทินวย-ทิคอง-ซ่งไท้

2. เส้นทางหน่วยพิทักษ์ป่าทินวย-น้ำโจน
3. เส้นทางสะเนพ่อง-เกาะสะเดิ่ง

4. เส้นทางตะเคียนทอง-น้ำตกสะละวะ

โดยห้ามยานพาหนะทุกชนิดเข้า-ออกเป็นเวลา 5 เดือน ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 หากบุคคลใดมีเหตุจำเป็นไปใช้เส้นทางดังกล่าว ให้หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตก พิจารณาผ่อนผันตามความจำเป็นและเหมาะสม โดยสอบถามได้ที่สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาญจนบุรี โทร. 0 3451 1566

เขาปลาร้า

เป็นเขาที่แบ่งเขตหมู่บ้านห้วยโศก อำเภอลานสัก กับ ตำบลเขาบางแกรก อำเภอหนองฉาง เขาปลาร้ามีขนาดใหญ่ สูงชันมากประมาณ 598 เมตร สภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ต้องเดินเท้าและปีนเขา ระยะทาง 900 เมตร ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง จึงจะถึงยอดเขาและแลเห็นภูมิประเทศที่สวยงาม ข้างบนเป็นที่ราบขนาดใหญ่และมีป่าไม้มะค่า

หน้าผาด้านตะวันตกที่ระดับความสูง 320 เมตร พบภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์อายุประมาณ 3,000 ปี เป็นลายเส้นสีดำและสีแดง เส้นสีดำค่อนข้างจางไปแล้ว ส่วนสีแดงยังเห็นได้อยู่ เขียนไว้ตลอดแนวยาวประมาณ 9 เมตร เขียนด้วยสีแดงมีกลุ่มภาพมนุษย์หลายแบบหลายลักษณะและกลุ่มภาพสัตว์ ภาพมีทั้งหมดประมาณ 40 ภาพ แสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตสังคมของคนยุคโบราณซึ่งเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์ของ จังหวัดอุทัยธานี
นักโบราณคดีได้แบ่งกลุ่มภาพเขียนบนเขาปลาร้าไว้สี่กลุ่ม คือ กลุ่มที่หนึ่ง กลุ่มภาพที่มีคนท่ามกลางสัตว์เลี้ยง (คาดว่าเป็นสุนัข) กลุ่มที่สอง กลุ่มภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัว การไปจับวัวป่า นำกลับมาเลี้ยง กลุ่มที่สาม กลุ่มภาพที่แสดงถึงการประกอบพิธีกรรม คนที่อยู่ในภาพมีเครื่องประดับซึ่งต่างจากคนทั่วไป และสัตว์ที่อยู่ในภาพมีลักษณะคล้ายลิงอยู่ด้วย กลุ่มที่สี่ กลุ่มภาพเบ็ดเตล็ดซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ ภาพเขียนสีที่นี่ถือได้ว่ามีความประณีตและเน้นเหมือนจริงกว่าแหล่งอื่น คำแนะนำสำหรับเดินขึ้นเขาปลาร้า เตรียมน้ำดื่มให้พร้อม และใส่รองเท้าผ้าใบที่กระชับเพราะทางเดินเป็นหินก้อนเล็กและลื่นตลอด พกสัมภาระเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
การเดินทาง จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 333 ผ่านอำเภอหนองฉาง จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 3438 สายหนองฉาง-ลานสัก อีกประมาณ 21.5 กิโลเมตร จะเห็นเทือกเขาปลาร้าอยู่ซ้ายมือ แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามทางลาดยางอีกประมาณ 7.5 กิโลเมตร หากนั่งรถโดยสารประจำทาง ใช้สายอุทัยธานี-ลานสัก จากนั้นต่อรถจากลานสักมาที่แยกห้วยโศก แล้วต่อรถจักรยานยนต์รับจ้างเข้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาปลาร้า

น้ำตกผาร่มเย็น

สามารถ มองเห็นได้จากริมถนน เป็นสายน้ำสีขาวทิ้งตัวลงมาในป่าทึบอยู่เบื้องล่าง ชาวอุทัยว่าที่นี่เป็นน้ำตกที่สวยที่สุดในจังหวัด เพราะสายน้ำที่ไหลลงมานั้นเป็นสายบาง ๆ ตกลงมาตรง ๆ คล้ายสายฝน โดยผ่านหน้าผาดินที่มี มอสสีเขียวเกาะอยู่เต็มไปหมด ประกอบกับพื้นที่เป็นป่ารกครึ้ม ทำให้คนที่ได้ยืนชมมีความรู้สึกชุ่มฉ่ำเย็นตามไปด้วย ทางเดินเข้าสู่น้ำตกผาร่มเย็นใช้เวลาประมาณ 20 นาที ปกติเดินเองได้ แต่หากต้องการคนนำทางติดต่อได้ที่ อบต.เจ้าวัด หรือสามารถติดต่อผ่าน สวนห้วยป่าปก รีสอร์ท โทร. 0 5659 6150-4

การเดินทาง จากอำเภอบ้านไร่ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 3011 สายบ้านไร่-พุบอน จนกระทั่งถึงทางเข้าบ้านใหม่ร่มเย็น เลี้ยวขวาเข้าไปประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงปากทางเดินเท้า จากนั้นเดินเท้าสู่น้ำตกอีก 400 เมตร


ศูนย์แสดงและสาธิตการทอผ้าพื้นเมือง(กลุ่มทอผ้าไพจิตต์)

ตั้งอยู่หลังวัดบ้านไร่ ติดกับโรงเรียนบ้านหน้าฝายบึงตาโพ เลี้ยวเข้าซอยข้างโรงเรียนไป 700 เมตร เป็นกลุ่มทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ รวมทั้งรับสอนด้วย ลายที่ทอเป็นลายโบราณ เช่นลายหมาน้อย ลายขอหลวง ลายขอคำเดือน มีผลิตภัณฑ์จำหน่ายด้วย เช่น มีทั้งผ้าซิ่น ผ้าแต่ง ผ้าคลุมเตียง ผ้าคลุมโต๊ะ ผ้าตัดชุด หมอนขิด ในบริเวณยังมีพิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณอายุกว่าร้อยปี

วัดถ้ำเขาวง

ตั้ง อยู่ในตำบลบ้านไร่ อยู่ห่างจากอำเภอ 12 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 3011 จะผ่านทางโค้งศาลเจ้าพ่อเขารักแล้วมาตัดกับสามแยกให้เลี้ยวขวาไปประมาณ 6 กิโลเมตร จะมีทางแยกเลี้ยวซ้ายเข้าสู่เขาวง ประมาณ 8 กิโลเมตร จะถึงทางแยก เข้าไปประมาณ 300 เมตร ตัววัดเป็นอาคาร 4 ชั้น มีลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบไทย ใต้ถุนเป็นลานเอนกประสงค์รวมทั้งร้านขายของ ชั้นที่ 2 เป็นวิหาร ชั้นที่ 3 เป็นกุฏิ ส่วนโบสถ์จะอยู่ชั้นที่ 4 สร้างด้วยไม้สัก และไม้มะค่า รวมทั้งไม้เก่าจากเรือนไทยแถวอยุธยา อ่างทอง หลังคานำมาจากลำพูน ช่างที่เข้าตัวเรือน รวมทั้งทำส่วนตัวเหงา ป้านลม และจั่ว มาจากอยุธยา
การจัดภูมิทัศน์ในวัดถือว่าสวยงาม ฉากหลังเป็นเขาหินปูนสูงตระหง่าน ด้านหน้ามีบ่อน้ำซึ่งมีปลาอาศัยอยู่มากมายและสวนที่ตกแต่งด้วยหิน ไม้ดัด และไม้ประดับ ระหว่างทางเดินที่จะขึ้นไปชมถ้ำ จะผ่านน้ำตกเทียมที่ดูเข้ากับบรรยากาศ
ที่เขาด้านหลังจะมีถ้ำอยู่ 7-8 ถ้ำ บางถ้ำเป็นที่นั่งวิปัสสนาสำหรับพระภิกษุ บางถ้ำเป็นถ้ำค้างคาว บางถ้ำมีหินงอกหินย้อยให้ชม บนเขามีที่ราบกว้างมีต้นไม้หลายชนิด เช่น ไม้ยาง ไม้มะค่า ไม้เสลา เป็นต้น มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่บ้าง ยังมีหมูป่าลงมาในบางครั้ง

วัดเขาวงพรหมจรรย์

ตั้งอยู่ตำบลวังหิน เข้าทางเดียวกับวัดถ้ำเขาตะพาบแต่อยู่เลยมาประมาณ 7 กิโลเมตร และแยกเข้าซ้ายไปอีก 1 กิโลเมตร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในหุบเขา 2 ลูก คือเขาวงและเขาพรหมจรรย์ มีถ้ำที่น่าสนใจอยู่หลายถ้ำ เช่น ถ้ำแจ้ง มีแสงส่องถึง ถ้ำงูเหลือม มีงูเหลือมอาศัยอยู่ ถ้ำน้ำ มีน้ำขังตลอด ช่วงแล้งน้ำถึงเข่า ช่วงฝนน้ำถึงอก ส่วน ถ้ำเพชรถ้ำพลอย มีหินงอกหินย้อย เวลาสะท้อนแสงเป็นประกายแวววาวคล้ายเพชรพลอย การเข้าชมถ้ำแก้วและถ้ำเพชรต้องมีคนนำทาง บริเวณวัดมีชะง่อนหินตั้งเป็นแท่งสูงมีมณฑปขนาดเล็กอยู่บนยอด และไหล่เขาสร้างอุโบสถสวยงาม

ลำน้ำสะแกกรัง

ไหลผ่านตัวจังหวัดอุทัยธานี มีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า ในสมัยก่อน เมื่อพ่อค้าล่องเรือผ่านมา จะรู้ได้ว่าถึงบ้านสะแกกรังแล้ว โดยเฉพาะในเดือนยี่ถึงเดือนสามจะสังเกตได้ชัดเจน ต้นสะแกจะออกดอกเล็กๆ ช่อยาวสีเขียวอมเหลืองห้อยลงมาริมน้ำ บริเวณสองฝั่งแม่น้ำจะมีเรือนแพอยู่เรียงราย ฝั่งแม่น้ำด้านตะวันตกมีอาคารบ้านเรือนอยู่หนาแน่น และเป็นตลาดใหญ่ ส่วนฝั่งแม่น้ำด้านตะวันออกเป็นเกาะเทโพ มีทุ่งนา สวนผัก สวนผลไม้ และป่าไผ่ตามธรรมชาติ เรือนแพที่อยู่สองฝั่งแม่น้ำเป็นเรือนไม้สร้างคร่อมบนแพลูกบวบไม้ไผ่ ชาวแพบอกว่าอยู่แพแล้วสบาย หน้าร้อนลมเย็น หน้าหนาวตอนเช้าแดดอุ่น ชาวเรือนแพเหล่านี้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการประมงในช่วงเช้าหลังจากที่ได้ ปลามาจะนำมาชำแหละ เสียบไม้เป็นแผง ผึ่งให้แห้ง ย่างรมควันทำเป็นปลาแห้ง และนำไปขายในตลาด ตามเรือนแพริมน้ำเหล่านี้ยังมีกระชังเลี้ยงปลาสวาย ปลาแรด และปลาเทโพบ้างเล็กน้อย ปกติปลาแรดที่เลี้ยงในกระชังจะไม่คาวเหมือนปลาแรดที่เลี้ยงในบ่อดินอยู่แล้ว แต่ปลาแรดในกระชังของที่นี่นับว่าขึ้นชื่อมาก เพราะเนื้อแน่นนุ่มและหวาน บางคนกล่าวว่า เป็นเพราะน้ำที่นี่มีการไหลเวียนดีและอาจมีแร่ธาตุบางอย่างอยู่ ปลาแรดจึงมีเนื้อนุ่ม สภาพความเป็นอยู่ที่สามารถพบเห็นตามสองฝั่งลำน้ำสะแกกรัง จึงเหมาะสำหรับนั่งเรือชมทิวทัศน์ โดยจะนั่งเรือไปถึง อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาทก็ได้ โดยจะวนเฉพาะรอบตัวเกาะเทโพ หรือนักท่องเที่ยวสามารถว่าจ้างเรือจากบริเวณท่าเรือตลาดสดเทศบาลเมือง อุทัยธานี เรือจะล่องไปมโนรมย์ ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ถ้าล่องเรือในช่วงเย็น คือประมาณ 16.00-18.00 น. จะได้เห็นพระอาทิตย์ตกซึ่งสวยงามมาก และในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม จะเห็นยอดักปลาเต็มไปหมด บางครั้งอาจได้เห็นชาวบ้านพายเรือมาเก็บผักตบชวา เพื่อนำใบไปรองเข่งปลา หรือจะนำไปเลี้ยงหมูก็ได้ เรือล่องแม่น้ำสะแกกรัง ติดต่อได้ที่บริเวณสะพานวัดโบสถ์ หากเป็นเรือหางยาวจุได้ประมาณ 10-12 คน ค่าเช่าเรือ 500 บาทต่อชั่วโมง หากไปถึงมโนรมย์ ราคาประมาณ 1,500 บาท ติดต่อที่ คุณปริยวัชร สิงห์เรือง โทร. 08 6790 9749 หากต้องการล่องเรือขนาดใหญ่เหมาราคาประมาณ 3,500 บาท เรือนำเที่ยวขนาดจุได้ 40 คน ใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง ติดต่อคุณวีระ บำรุงศรี หรือ บริษัท อุทัย ริเวอร์ เลค โทร. 08 1830 0653, 08 6577 7781, 0 2538 0335, 0 2538 3705 E-mail: riverlakeman@yahoo.com และบริษัท ชลัมภ์เซ็นเตอร์ โทร. 08 1252 4592, 08 6213 7514 นอกจากนี้มีเรือคยักให้เช่า ติดต่อได้ที่ ลานสุพรรณิการ์ ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ดำเนินงานโดย องค์การปกครองจังหวัดอุทัยธานี โทร. 0 5651 1444, 0 5651 3155

วัดธรรมโฆษก (วัดโรงโค)

ตั้ง อยู่ที่ถนนศรีอุทัย ตำบลอุทัยใหม่ ใกล้ตลาดเทศบาล เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยาของข้าราชการเมืองอุทัยธานี และเป็นลานประหารนักโทษ
เป็นวัดที่สร้างในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนังฝีมืองดงามจัดว่าสวยงามที่สุดในอุทัยธานี สันนิษฐานว่าเป็นฝีมือช่างสมัยอยุธยาตอนปลายที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงสมัยรัตน โกสินทร์ จิตรกรรมฝาผนังเป็นภาพพุทธประวัติตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ และตอนผจญมาร ผนังข้างด้านบนเป็นภาพเทพชุมนุมสลับกับพัดยศ กรอบหน้าต่างด้านนอกเป็นลายปูนปั้น
วิหารสร้างยกพื้นสูงกว่าโบสถ์ หน้าบันเป็นรูปช้างสามเศียร ภายในมีแท่นสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งมีประมาณ 20 องค์ จัดเรียงอย่างมีระเบียบ บนหน้าต่างด้านนอกมีลายปูนปั้นเป็นเรื่องรามเกียรติ์ประดับเป็นกรอบ ประตูวิหารเป็นไม้จำหลักลายดอกไม้ทาสีแดงงดงามมาก โบสถ์และวิหารมีพระปรางค์และเจดีย์เรียงรายอยู่ 2-3 องค์
กำแพงรอบโบสถ์ของวัดนี้ก่อต่อกับฐานวิหารเพราะมีพื้นสูงกว่า ประตูเป็นซุ้มแบบจีน และด้านหลังโบสถ์มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปเช่นเดียวกับด้านหน้า มีกุฏิเล็กอยู่ติดกับกำแพงโบสถ์ เป็นฝีมือช่างสมัยอยุธยา บานประตูวัดแกะสลัก ฝีมือช่างในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นลายดอกไม้ประกอบใบกระจังต่อก้านสลับดอกเรียงเป็นแถวสวยงามมาก พื้นในเป็นสีแดงเข้าใจว่าเดิมคงลงสีทองบนตัวลายไว้ บานหน้าต่างแกะเป็นลวดลายเดียวกัน ปกติโบสถ์จะปิดหากต้องการชมควรแจ้งไปก่อนที่ โทร. 0 5651 1450 ปัจจุบันวัดธรรมโฆษกได้รับการจดทะเบียนเป็นโบราณสถานแล้ว

วัดจันทาราม (วัดท่าซุง)

เดิมเป็นวัดที่สร้างในสมัยอยุธยา มีโบสถ์ขนาดเล็ก ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังฝีมือช่างพื้นบ้าน เข้าใจว่าเขียนในสมัยหลังการสร้างวัด เป็นเรื่องพุทธประวัติ บางภาพต่อเติมจนผิดส่วน สมบัติอีกชิ้นหนึ่งของวัดคือ ธรรมาสน์ที่หลวงพ่อใหญ่สร้าง ที่วิหารมีพระปูนปั้นฝีมือพองามและมีลายไม้จำหลักขอบหน้าบันเหลืออยู่ 2 - 3 แห่ง ด้านตรงข้ามกับวัดเป็นปูชนียสถานแห่งใหม่ มีบริเวณกว้างขวางมาก พระราชมหาวีระ ถาวาโร (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) พระเถระที่มีชื่อเสียงได้สร้างอาคารต่าง ๆ มากมาย เช่น พระอุโบสถใหม่ ภายในประดับและตกแต่งอย่างวิจิตร บานหน้าต่างและประตูด้านในเขียนภาพเทวดาโดยจิตรกรฝีมือดี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาตัดลูกนิมิตพระอุโบสถแห่งนี้ บริเวณโดยรอบสร้างกำแพงแก้วและมีรูปหล่อหลวงพ่อปาน และหลวงพ่อใหญ่ขนาด 3 เท่า อยู่มุมกำแพงด้านหน้า มณฑป และ พระวิหารแก้ว ที่ประดิษฐานพระพุทธชินราชจำลอง และศพของหลวงพ่อฤาษีลิงดำที่ไม่เน่าเปื่อย อาคารเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกันคือสร้างด้วยโมเสกสี ขาวใสดูเหมือนแก้ว และยังมีปราสาททองคำ ศาลาฝึกสมาธิ อาคารแต่ละหลังจะมีเวลาเปิด-ปิดไม่ตรงกันและปิดช่วงกลางวัน วิหารแก้วจะเปิดให้ชมตั้งแต่เวลา 9.00-11.45 น.และ 14.00-16.00 น.
การเดินทาง
วัดท่าซุง ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบลน้ำซึม สามารถเดินทางไปได้หลายวิธี 1)ไปตามทางสาย 3265 มุ่งตรงไปทางแพข้ามฟากอำเภอมโนรมย์ ประมาณ 12 กิโลเมตร 2)รถโดยสารสายอุทัยฯ-ท่าซุง (สองแถวสีฟ้า) ค่าโดยสาร 8 บาท จากวัดท่าซุงต่อไปอีก 5 บาท จะถึงท่าเรือข้ามไปอำเภอมโนรมย์

วัดอุโบสถาราม

เดิมชื่อวัดโบสถ์มโนรมย์ ชาวบ้านเรียกว่าวัดโบสถ์ เป็นวัดเก่าแก่อยู่ริมลำน้ำสะแกกรังในเขตเทศบาลเมือง จากตลาดสดเทศบาล มีสะพานข้ามแม่น้ำไปยังวัดอุโบสถาราม ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ สิ่งที่น่าสนใจในวัดได้แก่ จิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์และวิหาร เป็นภาพเขียนสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในโบสถ์เป็นภาพเกี่ยวกับพุทธประวัติเริ่มตั้งแต่ประสูติจนถึงปรินิพพานฝีมือ ประณีตมาก ส่วนในวิหารเขียนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จโปรดเทพยดาบนสวรรค์และภาพปลงสังขาร ด้านบนฝาผนังเป็นพระสงฆ์สาวกชุมนุมสลับกับพัดยศเหมือนจะไหว้พระประธานใน วิหาร ฝาผนังด้านนอกหน้าวิหารมีภาพถวายพระเพลิงศพพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและภาพชีวิต ชาวบ้านที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา เข้าใจว่าเป็นฝีมือชั้นหลัง
นอกจากนี้ภายในวัดอุโบสถาราม ยังมีสิ่งของที่น่าชมอีกมาก เช่น เสมาหินสีแดงหน้าโบสถ์ ตู้พระธรรมและตู้ใส่ของเขียนลายกนกเถาลายดอกไม้ บาตรฝาประดับมุกที่ได้รับพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 เป็นฝีมือช่างสิบหมู่ และหงส์ยอดเสา เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีอาคารสถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่น่าชมหลายหลัง ได้แก่ มณฑปแปดเหลี่ยม ลักษณะผสมแบบตะวันตก มีลายปูนปั้นคล้ายไม้เลื้อยที่กรอบหน้าต่าง และมีพระพุทธรูปปูนสลักนูนสูงอยู่ด้านนอกอาคาร เจดีย์หกเหลี่ยม ย่อมุมไม้สิบสองทรงรัตนโกสินทร์ หอประชุมอุทัยพุทธสภา เป็นศาลาทรงไทย ใช้เป็นหอสวดมนต์ หน้าบันประดับลวดลายปูนปั้น และ แพโบสถ์น้ำ ตั้งอยู่หน้าวัด สร้างขึ้นเพื่อรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้ง เสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือใน พ.ศ. 2449 เดิมเป็นแพแฝด 2 หลัง มีช่อฟ้า ใบระกาเหมือนอุโบสถทั่วไป หน้าบันมีป้ายวงกลมจารึกภาษาบาลี “สุ อาคต เต มหาราช” แปลว่า มหาราชเสด็จฯ มาดี ต่อมาใน พ.ศ. 2519 ได้ซ่อมแซมบูรณะใหม่เป็นหลังเดียวยกพื้น 2 ชั้น หลังคาทรงปั้นหยา และย้ายป้ายกลมมาไว้หน้าจั่วตรงกลาง ปัจจุบันแพโบสถ์น้ำหลังนี้ ใช้ประกอบพิธีทางศาสนา เช่น งานแต่งงาน บวชนาค งานศพและงานบุญต่าง ๆ

วัดมณีสถิตย์กปิฏฐาราม

ตั้ง อยู่ที่ถนนสุนทรสถิตย์ หลังสวนสุขภาพ ตรงวงเวียนหอนาฬิกา เป็นวัดที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ ชาวเมืองเรียกกันว่า วัดทุ่งแก้ว ในวัดนี้มีพระปรางค์ใหญ่อยู่องค์หนึ่ง ฐานกว้าง 8 เมตรสูง 16 เมตร ลักษณะเป็นปรางค์ห้ายอด สร้างเมื่อ พ.ศ. 2452 ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อหลวงพ่อแย้มผู้สร้างวัดนี้ บริเวณวัดมีสระน้ำก่ออิฐเป็นสระน้ำมนต์ขนาดใหญ่ กลางสระมีแผ่นศิลาอักขระยันต์ของหลวงพ่อแย้มฝังเอาไว้ น้ำในสระแห่งนี้เคยใช้เป็นน้ำสรงพุทธาภิเษกในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7

 

Destination Guides Car & Fleet Guide Car Rental Locations